โดย ผ.ศ.พญ. สินี ดิษฐบรรจง
พ.บ., อ.ว.(อายรศาสตร), อ.ว.(อายรศาสตรโรคไต)
ภาควิชาอายุรศาสตร์
คณะแพทยศาสตร์ รพ.รามาธิบดี
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-สมดุลแคลเซียม
-กลไกการควบคุมระดับของแคลเซียมในกระแสเลือด
-สาเหตุของภาวะแคลเซียมสูง
-อาการและอาการแสดงของภาวะแคลเซียมสูง
-การวินิจฉัยภาวะแคลเซียมสูง
-การรักษาภาวะแคลเซียมสูง
ลิ้งค์ คลิก
เพื่อการเรียนรู้ medicine และสุขภาพที่ดีของประชาชน (community hospital) * เดิมคือ Phimaimedicine.blogspot.com * ตอนนี้มาปฏิบัติงานอยู่ที่ รพ. ขนอม นครศรีธรรมราชครับ
หน้าเว็บ
▼
วันอังคารที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2558
วันจันทร์ที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2558
3,238 การเคลื่อนไหวของลูกตาแบบปิงปอง (ping-pong gaze)
การเคลื่อนไหวของลูกตาเป็นจังหวะย้ายจากด้านหนึ่งไปยังอีกด้านหนึ่งอย่างต่อเนื่องโดยไม่หยุดในตำแหน่งด้านข้าง ในอัตรา 3-7 วินาทีต่อรอบ ลักษณะเรียบ มักไม่ค่อยมีการกระตุก ซึ่งลักษณะแบบนี้ได้รับการนี้ได้รับการอธิบายว่าเป็น ping pong gaze” (PPG) เป็นครั้งแรกโดย Fisher ในปี 1967 ในผู้ป่วย bilateral hemispheric infarction ซึ่งการเคลื่อนไหวลูกตาแบบนี้มักสังเกตพบได้ในผู้ป่วยโคม่าซึ่งมีการทำลายสมองแบบไม่คืนกลับเป็นบริเวณกว้าง เช่น bilateral hemispheric infarcts และ midline cerebellar hemorrhage และมีรายงานว่าเกิดจากการมีสารที่เป็นพิษในร่างกายเช่นใน advanced hepatic encephalopathy ซึ่งเมื่อให้การรักษาภาวะ hepatic encephalopathy แล้วก็พบว่าการเคลื่อนไหวลูกตากลับมาปกติ
Ref: http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMicm1408161
http://www.neurology.org/content/63/8/1537.short
http://archneur.jamanetwork.com/multimediaPlayer.aspx?mediaid=7451806
Ref: http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMicm1408161
http://www.neurology.org/content/63/8/1537.short
http://archneur.jamanetwork.com/multimediaPlayer.aspx?mediaid=7451806
วันอาทิตย์ที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2558
3,237 การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
จัดทำโดยกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
และสถาบันเวชศาสตร์สมเด็จพระสังฆราชญาณสังวร เพื่อผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
และสถาบันเวชศาสตร์สมเด็จพระสังฆราชญาณสังวร เพื่อผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
ลิ้งค์ คลิก
วันเสาร์ที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2558
3,236 แนวทางเวชปฏิบัติการตรวจหามะเร็งช่องปากระยะเริ่มแรก
จากเวปไซต์ทันตแพทยสภา
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-บทนำ
-วัตถุประสงค์
-การตรวจคัดกรองผู้ป่วย
-แนวทางการวินิจฉัยและการรักษา
-แผนภาพแสดงขั้นนตอนแนวทางการรักษาผู้ป่วยที่มีรอยโรคในช่องปาก
ลิ้งค์ http://www.dentalcouncil.or.th/public_content/cpg/14.pdf
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-บทนำ
-วัตถุประสงค์
-การตรวจคัดกรองผู้ป่วย
-แนวทางการวินิจฉัยและการรักษา
-แผนภาพแสดงขั้นนตอนแนวทางการรักษาผู้ป่วยที่มีรอยโรคในช่องปาก
ลิ้งค์ http://www.dentalcouncil.or.th/public_content/cpg/14.pdf
วันศุกร์ที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2558
3,235 Ultrasound guided lumbar puncture
ในคนที่หาตำแหน่งในการเจาะตรวจน้ำไขสันหลังได้ยาก เช่น คนที่อ้วน คนที่มีกระดูกหลังคด หลังโก่ง หรือคนที่ทำยาก เป็นต้น โดยการอัลตร้าซาวด์ให้เห็น spinous process แล้วหาช่องที่อยู่ระหว่าง spinous process ซึ่งก็คือ intra-spinous space ใช้เข็ม เจาะผ่านเข้าไปทาง intra-spinous space โอกาศที่จะสำเร็จสูงกว่าการไม่ใช้
ผมใช้การทำแบบนี้ในผู้ป่วยที่หาตำแหน่งทำยากและทำไม่สำเร็จ พอใช้อัลตร้าซาวด์ช่วยก็สามารถทำได้สำเร็จครับ
ผมใช้การทำแบบนี้ในผู้ป่วยที่หาตำแหน่งทำยากและทำไม่สำเร็จ พอใช้อัลตร้าซาวด์ช่วยก็สามารถทำได้สำเร็จครับ
SP คือ spinous process, ISP คือ intra-spinous space
วันพฤหัสบดีที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2558
3,234 Advanced dementia
Clinical practice
N Engl J Med June 25, 2015
Key Clinical Points
-ภาวะสมองเสื่อมขั้นรุนแรงเป็นสาเหตุหลักของการเสียชีวิตในประเทศสหรัฐอเมริกา
-โดยมีลักษณะได้แก่ความจำเสื่อมอย่างรุนแรง (เช่น ไม่สามารถจดจำคนในครอบครัวได้), มีการสื่อสารทางวาจาน้อยมาก, การสูญเสียความสามารถในการเดิน, ไม่สามารถที่จะดำเนินกิจกรรมในชีวิตประจำวันและมักจะกลั้นปัสสาวะ-อุจจาระไม่ได้
-ภาวะแทรกซ้อนทางคลินิกที่พบมากที่สุดคือปัญหาการรับประทานอาหาร ปัญหาและการติดเชื้อ และสิ่งเหล่านี้จำเป็นต้องมีการตัดสินใจการดูแลรักษา
-การวางแผนการดูแลล่วงหน้าเป็นรากฐานที่สำคัญของการดูแล การตัดสินใจการรักษาควรจะใช้เป้าหมายของการดูแลเป็นตัวชี้นำ ซึ่งกว่า 90% ของกฏหมายเกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยของแต่ละรัฐคือการที่ผู้ป่วยรู้สึกสบายถือเป็นเป้าหมายหลัก
-การศึกษาแบบสังเกตไม่แสดงถึงประโยชน์ใด ๆ ของการให้อาหารทางสายยางในผู้ที่มีภาวะสมองเสื่อมขั้นสูงและการให้อาหารสายยางไม่แนะนำ
-การศึกษาแบบสังเกตแสดงประโยชน์หลายประการของการดูแลในสถานพยาบาลสําหรับผู้ป่วยระยะสุดท้าย ผู้ป่วยที่มีภาวะสมองเสื่อมรุนแรงควรจะเสนอการดูแลรักษาแบบแบบประคับประคองและการดูแลในสถานพยาบาลสําหรับผู้ป่วยระยะสุดท้ายถ้าสามารถจัดหาได้
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-The Clinical Problem
-Strategies and Evidence
Approach to Decision Making
Clinical Complications
Hospitalization
Palliative and Hospice Care
Medication Use
-Areas of Uncertainty
-Guidelines
-Conclusions and Recommendations
-Source Information
อ้างอิงและอ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMcp1412652
N Engl J Med June 25, 2015
Key Clinical Points
-ภาวะสมองเสื่อมขั้นรุนแรงเป็นสาเหตุหลักของการเสียชีวิตในประเทศสหรัฐอเมริกา
-โดยมีลักษณะได้แก่ความจำเสื่อมอย่างรุนแรง (เช่น ไม่สามารถจดจำคนในครอบครัวได้), มีการสื่อสารทางวาจาน้อยมาก, การสูญเสียความสามารถในการเดิน, ไม่สามารถที่จะดำเนินกิจกรรมในชีวิตประจำวันและมักจะกลั้นปัสสาวะ-อุจจาระไม่ได้
-ภาวะแทรกซ้อนทางคลินิกที่พบมากที่สุดคือปัญหาการรับประทานอาหาร ปัญหาและการติดเชื้อ และสิ่งเหล่านี้จำเป็นต้องมีการตัดสินใจการดูแลรักษา
-การวางแผนการดูแลล่วงหน้าเป็นรากฐานที่สำคัญของการดูแล การตัดสินใจการรักษาควรจะใช้เป้าหมายของการดูแลเป็นตัวชี้นำ ซึ่งกว่า 90% ของกฏหมายเกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยของแต่ละรัฐคือการที่ผู้ป่วยรู้สึกสบายถือเป็นเป้าหมายหลัก
-การศึกษาแบบสังเกตไม่แสดงถึงประโยชน์ใด ๆ ของการให้อาหารทางสายยางในผู้ที่มีภาวะสมองเสื่อมขั้นสูงและการให้อาหารสายยางไม่แนะนำ
-การศึกษาแบบสังเกตแสดงประโยชน์หลายประการของการดูแลในสถานพยาบาลสําหรับผู้ป่วยระยะสุดท้าย ผู้ป่วยที่มีภาวะสมองเสื่อมรุนแรงควรจะเสนอการดูแลรักษาแบบแบบประคับประคองและการดูแลในสถานพยาบาลสําหรับผู้ป่วยระยะสุดท้ายถ้าสามารถจัดหาได้
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-The Clinical Problem
-Strategies and Evidence
Approach to Decision Making
Clinical Complications
Hospitalization
Palliative and Hospice Care
Medication Use
-Areas of Uncertainty
-Guidelines
-Conclusions and Recommendations
-Source Information
อ้างอิงและอ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMcp1412652
วันพุธที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2558
3,233 แผ่นความรู้เรื่อง การรักษาโรคพาร์กินสัน
โดยศูนย์รักษาโรคพาร์กินสันและกลุ่มโรคความเคลื่อนไหวผิดปกติ
รพ.จุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย
ลิ้งค์ http://www.chulapd.org/thai/phocadownload/Poster/parkinson_treat_v2_outline.pdf
รพ.จุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย
ลิ้งค์ http://www.chulapd.org/thai/phocadownload/Poster/parkinson_treat_v2_outline.pdf
วันอังคารที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2558
3,232 การประเมินความเสี่ยงในการผ่าตัด
การประเมินความเสี่ยงในการผ่าตัด (High Risk of Surgery Assessment)
โดย นายศิวพล ศรีแก้ว (M.N.S. Adult Nursing, RN)
โดย นายศิวพล ศรีแก้ว (M.N.S. Adult Nursing, RN)
วันจันทร์ที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2558
3,231 คำแนะนำสำหรับการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังก่อนการบำบัดทดแทนไต พ.ศ. 2558
คำแนะนำสำหรับการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังก่อนการบำบัดทดแทนไต พ.ศ. 2558
โดยสมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย
โดยสมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย
ลิ้งค์ คลิก
วันอาทิตย์ที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2558
3,230 แนวทางการสอบสวนโรคสำหรับผู้สงสัย MERS แบบพร้อมใช้จริง ฉบับล่าสุด
แนวทางการสอบสวนโรคสำหรับผู้เข้านิยามผู้ป่วยที่ต้องดำเนินการสอบสวนโรค
กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา สายพันธุ์ 2012 ((Middle East Respiratory Syndrome:MERS)
วันเสาร์ที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2558
3,229 แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบจากไวรัส บี และ ซี เรื้อรังในประเทศไทย ปี 2558
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบจากไวรัส บี และ ซี เรื้อรังในประเทศไทย ปี 2558
Thailand Practice Guideline for Management of Chronic 2015
โดยสมาคมโรคตับแห่งประเทศไทย
Thailand Practice Guideline for Management of Chronic 2015
โดยสมาคมโรคตับแห่งประเทศไทย
วันศุกร์ที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2558
3,228 แนวทางการเฝ้าระวังและสอบสวนโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา สายพันธุ์ 2012 (Middle East Respiratory Syndrome: MERS) ในประเทศไทย ฉบับล่าสุด
แนวทางการเฝ้าระวังและสอบสวนโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา สายพนธุ์ 2012
(Middle East Respiratory Syndrome: MERS) ในประเทศไทย
(ฉบับวันที่ 6 มิถุนายน 2558)
(Middle East Respiratory Syndrome: MERS) ในประเทศไทย
(ฉบับวันที่ 6 มิถุนายน 2558)
วันพฤหัสบดีที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2558
3,227 Ischemic optic neuropathies (cerebral infarctions)
Review article
N Engl J Med June 18, 2015
ความผิดปกติของเส้นประสาทตาคู่ที่สอง (optic nerve) เป็นสาเหตุของการสูญเสียการมองเห็นที่พบได้บ่อยๆ โดย optic nerve เป็น white-matter tract ซึ่งทำหน้าที่ถ่ายทอดสัญญาณข้อมูลจากจอประสาทตาไปยังพื้นที่ของสมองที่ทำหน้าที่ในการประมวลผลภาพ เมื่อใดก็ตามที่มีความเสียหายกับเส้นประสาทตานี้ ไม่ว่าจะจากสาเหตุอะไรก็ตามจะถูกเรียกว่า “optic neuropathy” ซึ่งจะแตกต่างจาก inflammatory optic neuritis ซึ่งเป็นเส้นประสาทตาอักเสบที่พบบ่อยที่สุดในผู้ป่วยอายุน้อย
Ischemic optic neuropathy (ION) เป็นผลมาจากเลือดไปเลี้ยงไม่เพียงพอ ไม่ได้เกิดจากการอักเสบ ซึ่ง ION จะหมายถึงการขาดเลือดทุุกๆ สาเหตุ ของ optic neuropathy ถึงแม้ว่า ION จะได้รับการพิจารณาว่าเทียบเท่ากับ “stroke of the optic nerve” แต่ก็ไม่สามารถเปรียบเทียบได้กันโดยตรงกับภาวะสมองขาดเลือด (cerebral infarctions) ซึ่งสาเหตุและกลไกสะท้อนให้เห็นถึงลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์ของเส้นประสาทตาและเลือดที่มาเลี้ยง
ION เป็นสาเหตุที่พบมากที่สุดของ optic neuropathy ชนิดเฉียบพลันในผู้ป่วยสูงอายุ โดยมีอุบัติการณ์ในแต่ละปีประมาณ 2.3-10.2 รายต่อ 100,000 ประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 50 ปีขึ้นไป
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-Nonarteritic Anterior ION
Diagnosis and Clinical Presentation
Pathophysiological Features and Evaluation
Risk of Recurrence and Involvement of the Fellow Eye
Treatment
-Nonarteritic Posterior ION
-Arteritic IONs
Diagnosis and Clinical Presentation
Treatment
-Perioperative ION
-Conclusions
-Source Information
อ้างอิงและอ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMra1413352
N Engl J Med June 18, 2015
ความผิดปกติของเส้นประสาทตาคู่ที่สอง (optic nerve) เป็นสาเหตุของการสูญเสียการมองเห็นที่พบได้บ่อยๆ โดย optic nerve เป็น white-matter tract ซึ่งทำหน้าที่ถ่ายทอดสัญญาณข้อมูลจากจอประสาทตาไปยังพื้นที่ของสมองที่ทำหน้าที่ในการประมวลผลภาพ เมื่อใดก็ตามที่มีความเสียหายกับเส้นประสาทตานี้ ไม่ว่าจะจากสาเหตุอะไรก็ตามจะถูกเรียกว่า “optic neuropathy” ซึ่งจะแตกต่างจาก inflammatory optic neuritis ซึ่งเป็นเส้นประสาทตาอักเสบที่พบบ่อยที่สุดในผู้ป่วยอายุน้อย
Ischemic optic neuropathy (ION) เป็นผลมาจากเลือดไปเลี้ยงไม่เพียงพอ ไม่ได้เกิดจากการอักเสบ ซึ่ง ION จะหมายถึงการขาดเลือดทุุกๆ สาเหตุ ของ optic neuropathy ถึงแม้ว่า ION จะได้รับการพิจารณาว่าเทียบเท่ากับ “stroke of the optic nerve” แต่ก็ไม่สามารถเปรียบเทียบได้กันโดยตรงกับภาวะสมองขาดเลือด (cerebral infarctions) ซึ่งสาเหตุและกลไกสะท้อนให้เห็นถึงลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์ของเส้นประสาทตาและเลือดที่มาเลี้ยง
ION เป็นสาเหตุที่พบมากที่สุดของ optic neuropathy ชนิดเฉียบพลันในผู้ป่วยสูงอายุ โดยมีอุบัติการณ์ในแต่ละปีประมาณ 2.3-10.2 รายต่อ 100,000 ประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 50 ปีขึ้นไป
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-Nonarteritic Anterior ION
Diagnosis and Clinical Presentation
Pathophysiological Features and Evaluation
Risk of Recurrence and Involvement of the Fellow Eye
Treatment
-Nonarteritic Posterior ION
-Arteritic IONs
Diagnosis and Clinical Presentation
Treatment
-Perioperative ION
-Conclusions
-Source Information
อ้างอิงและอ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMra1413352
วันพุธที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2558
3,226 แผนการป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งระดับชาติ
แผนการป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งระดับชาติ
National Cancer Control Programmes (พ.ศ.2556-2560)
โดยคณะกรรมการ
จัดทำแผนการป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งแห่งชาติ
กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
National Cancer Control Programmes (พ.ศ.2556-2560)
โดยคณะกรรมการ
จัดทำแผนการป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งแห่งชาติ
กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
วันอังคารที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2558
3,225 แนวปฏิบัติทางคลินิกเพื่อการบำบัดทางสังคมจิตใจผู้ป่วยโรคซึมเศร้า สำหรับพยาบาลจิตเวชในสถานบริการระดับตติยภูมิ
แนวปฏิบัติทางคลินิกเพื่อการบำบัดทางสังคมจิตใจผู้ป่วยโรคซึมเศร้า สำหรับพยาบาลจิตเวชในสถานบริการระดับตติยภูมิ
(Clinical Practice Guideline of Psychosocial Intervention for Depressive Disorder for Psychiatric nurse in Tertiary Care)
โดยคณะกรรมการบริหารโครงการทศวรรษการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคซึมเศร้า กรมสุขภาพจิต ปี 2553
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยมหิดล
คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
และพยาบาลจิตเวชในสังกัดกรมสุขภาพจิต
(Clinical Practice Guideline of Psychosocial Intervention for Depressive Disorder for Psychiatric nurse in Tertiary Care)
โดยคณะกรรมการบริหารโครงการทศวรรษการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคซึมเศร้า กรมสุขภาพจิต ปี 2553
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยมหิดล
คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
และพยาบาลจิตเวชในสังกัดกรมสุขภาพจิต
วันจันทร์ที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2558
3,224 การดูแลผู้ป่วยได้รับยาละลายลิ่มเลือดในผู้ป่วยผ่าตัดลิ้นหัวใจ
การดูแลผู้ป่วยได้รับยาละลายลิ่มเลือดในผู้ป่วยผ่าตัดลิ้นหัวใจ
โดยสถาบันทรวงอก กรมการแพทย์
โดยสถาบันทรวงอก กรมการแพทย์
ลิ้งค์ คลิก
วันอาทิตย์ที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2558
3,223 การศึกษาวิจัย อุบัติการณ์ สาเหตุของความเสี่ยง และปัจจัยที่เกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยงในโรงพยาบาลศูนยและโรงพยาบาลทั่วไป
โดย พวงผกา ไทยดำรงค์,
ทวนทอง เชาวกีรติพงศ,
และ ชูชีพ พุทธประเสริฐ
ตีพิมพ์ในพุทธชินราชเวชสาร
ปีที่ 30 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2556
ทวนทอง เชาวกีรติพงศ,
และ ชูชีพ พุทธประเสริฐ
ตีพิมพ์ในพุทธชินราชเวชสาร
ปีที่ 30 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2556
วันเสาร์ที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2558
3,222 หนังสือ: โรงเรียนแพทย์ชนบท คู่มือเวชศาสตร์ชุมชนภาคสนาม
โรงเรียนแพทย์ชนบท
คู่มือเวชศาสตร์ชุมชนภาคสนาม
ผู้จัดทำ ชมรมแพทย์ชนบท
บรรณาธิการโดย พญ. สายพิณ หัตถีรัตน์
นพ. สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ
และ พญ. ฉันทนา ผดุงทศ
คู่มือเวชศาสตร์ชุมชนภาคสนาม
ผู้จัดทำ ชมรมแพทย์ชนบท
บรรณาธิการโดย พญ. สายพิณ หัตถีรัตน์
นพ. สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ
และ พญ. ฉันทนา ผดุงทศ
วันศุกร์ที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2558
3,221 คู่มือความรู้เรื่องโรคพิษสุนัขบ้า
จัดทำโดย กลุ่มโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
ลิ้งค์ คลิก
วันพฤหัสบดีที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2558
3,220 Early cardiopulmonary resuscitation in out-of-hospital cardiac arrest
Original article
N Engl J Med June 11, 2015
ประชากรสามล้านคนในสวีเดนได้รับการฝึกฝนในการช่วยฟื้นคืนชีพ (cardiopulmonary resuscitation, CPR) ซึ่งอัตราการรอดชีวิตในกลุ่มคนที่มีภาวะหัวใจหยุดทำงานขณะอยู่นอกโรงพยาบาลยังคงเป็นคำถาม
ศึกษาโดยการวิเคราะห์ทั้งหมด 30,381 คนที่มีภาวะหัวใจหยุดทำงานขณะอยู่นอกโรงพยาบาลโดยมีผู้เห็นเหตุการณ์ในสวีเดนตั้งแต่ 1 มกราคม 1990 ถึง 31 ธันวาคม 2011 เพื่อตรวจสอบว่าการทำ CPR
ก่อนที่หน่วยการแพทย์ฉุกเฉิน (EMS) จะไปถึงและเพื่อดูว่าการทำ CPR ตั้งแต่แรกมีความสัมพันธ์กับการอยู่รอดหรือไม่
ผลการศึกษาพบว่าการช่วยฟื้นคืนชีพก่อนที่ EMS จะไปถึงมีความสัมพันธ์กับการอยู่รอดที่ 30 วันสูงเป็นสองเท่าของของการที่ไม่ได้ทำ CPR ก่อนที่ EMS จะไปถึง
อ้างอิงและอ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMoa1405796
N Engl J Med June 11, 2015
ประชากรสามล้านคนในสวีเดนได้รับการฝึกฝนในการช่วยฟื้นคืนชีพ (cardiopulmonary resuscitation, CPR) ซึ่งอัตราการรอดชีวิตในกลุ่มคนที่มีภาวะหัวใจหยุดทำงานขณะอยู่นอกโรงพยาบาลยังคงเป็นคำถาม
ศึกษาโดยการวิเคราะห์ทั้งหมด 30,381 คนที่มีภาวะหัวใจหยุดทำงานขณะอยู่นอกโรงพยาบาลโดยมีผู้เห็นเหตุการณ์ในสวีเดนตั้งแต่ 1 มกราคม 1990 ถึง 31 ธันวาคม 2011 เพื่อตรวจสอบว่าการทำ CPR
ก่อนที่หน่วยการแพทย์ฉุกเฉิน (EMS) จะไปถึงและเพื่อดูว่าการทำ CPR ตั้งแต่แรกมีความสัมพันธ์กับการอยู่รอดหรือไม่
ผลการศึกษาพบว่าการช่วยฟื้นคืนชีพก่อนที่ EMS จะไปถึงมีความสัมพันธ์กับการอยู่รอดที่ 30 วันสูงเป็นสองเท่าของของการที่ไม่ได้ทำ CPR ก่อนที่ EMS จะไปถึง
อ้างอิงและอ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMoa1405796
วันพุธที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2558
วันอังคารที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2558
3,218 Spot diagnosis: หญิง 49 ปี มีผิวหนังที่ฝ่าเท้าแข็งหนาผิดปกติ
หญิง 49 ปี มีผิวหนังที่ฝ่าเท้าแข็งหนาดังภาพ จำความได้ว่าเป็นมาตั้งแต่เด็ก จะให้การวินิจฉัยอะไร และรักษาอย่างไรครับ?
วันจันทร์ที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2558
3,217 ความคลาดเคลื่อนทางยาและแนวทางป้องกันเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วย
ความคลาดเคลื่อนทางยาและแนวทางป้องกันเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วย
Medication error and prevention guide for patient’s safety
โดย กรัณฑ์รัตน์ ทิวถนอม
ศุภลักษณ์ ธนานนท์นิวาส
จาก E – Journal , Silpakorn University ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 (สิงหาคม 2552)
Medication error and prevention guide for patient’s safety
โดย กรัณฑ์รัตน์ ทิวถนอม
ศุภลักษณ์ ธนานนท์นิวาส
จาก E – Journal , Silpakorn University ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 (สิงหาคม 2552)
วันอาทิตย์ที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2558
3,216 คาดการณ์โรคและภัยสุขภาพที่สำคัญในฤดูฝน มิถุนายน - กันยายน 2558
โดยสำนักระบาดวิทย กรมควบคมโรค
เนื้อหาได้แก่
1. โรคไข้เลือดออก
2. โรคไข้หวัดใหญ่
3. โรคมือ เท้า ปาก
4. โรคตาแดง
5. เห็ดพิษ
ลิ้งค์ http://203.157.15.110/boe/getFile.php?id=NA==&lbt=YmZk&rid=ZmlsZXNfdXBsb2FkL25ld3M=
1. โรคไข้เลือดออก
2. โรคไข้หวัดใหญ่
3. โรคมือ เท้า ปาก
4. โรคตาแดง
5. เห็ดพิษ
ลิ้งค์ http://203.157.15.110/boe/getFile.php?id=NA==&lbt=YmZk&rid=ZmlsZXNfdXBsb2FkL25ld3M=
วันเสาร์ที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2558
3,215 แนวทางการประเมินสถานพยาบาล ด้านโรคหลอดเลือดสมอง
-ระดับคะแนนในการประเมินคุณภาพประกาศนียบัตรศูนย์โรคหลอดเลือดสมองมาตรฐาน
(Standard Stroke Center Certify : SSCC)
-เกณฑ์การประเมินคุณภาพ: ศูนยโรคหลอดเลือดสมองมาตรฐาน
-เกณฑ์การประเมิน : ตัวชี้วัดคุณภาพการดูแลรักษาโรคหลอดเลือดสมองตีบอุดตน
-ศูนยโรคหลอดเลือดสมองมาตรฐาน
-พจนานุกรมคุณภาพการให้บริการ: โรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตน
-รายชื่อผู้เข้าร่วมการประชุมพัฒนามาตรฐานการรับรองและแนวทางการประเมิน
-สถานพยาบาลด้านโรคหลอดเลือดสมอง
-ภาคผนวก
ลิ้งค์ คลิก
วันศุกร์ที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2558
3,214 Spot diagnosis: EKG ของผู้ป่วยชาย 52 ปี ไม่มีความผิดปกติอะไร
EKG ของผู้ป่วยชาย 52 ปี ไม่มีความผิดปกติอะไร, Rhythm ที่เห็นมีความผิดปกติคือ?
กดที่ภาพเพื่อขยายขนาด
ขอขอบคุณสำหรับความเห็นที่ร่วมเรียนรู้
ตอบถูกต้องนะครับ คือ complete AV block หรือ 3rd degree AV block
โดยจะเห็นว่าในช่วงต้นจะพบว่า atrial (P wave) activity และ ventricular (QRS complex) activity เกิดขึ้นโดยไม่มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันดังภาพด้านล่าง (ลูกศรสีแดงคือ P wave)
วันพฤหัสบดีที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2558
3,213 Noninvasive positivepressure ventilation
Videos in clinical medicine
N Engl J Med June 4, 2015
การช่วยหายใจโดยใช้แรงดันบวก (positive-pressure–ventilator support) โดยไม่ต้องใช้ท่อช่วยหายใจท่อช่วยหายใจได้รับการศึกษาครั้งแรกในปี คศ. 1930 ซึ่งปัจจุบันรู้จักกันในชื่อว่า noninvasive positive-pressure ventilation (NPPV) ซึ่งสามารถนำมาใช้ในการรักษาภาวะการหายใจล้มเหลวทั้งแบบเฉียบพลันและเรื้อรัง ในประชากรผู้ป่วยบางกลุ่ม NPPV มีประโยชน์เพื่อช่วยหายใจโดยไม่ต้องมีความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับการใส่ท่อช่วยหายใจ บุคลากรผู้ให้บริการทางสุขภาพทั้งหมดควรจะต้องคุ้นเคยกับเกณฑ์ที่ควรเลือกใช้ในผู้ป่วย, มีอุปกรณ์, และการตั้งค่าเครื่องช่วยหายใจที่เหมาะสม โดยวิดีโอจะทบทวนเกี่ยวกับเรื่องาเหล่า เน้นนี้ให้ความสำคัญไปที่ทางเดินหายใจล้มเหลวเฉียบพลัน
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-Overview
-Indications
-Contraindications
-Equipment
Interface
Ventilators
-Procedure
-Summary
อ้างอิงและอ่านต่อโดยละเอียด: http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMvcm1313336
N Engl J Med June 4, 2015
การช่วยหายใจโดยใช้แรงดันบวก (positive-pressure–ventilator support) โดยไม่ต้องใช้ท่อช่วยหายใจท่อช่วยหายใจได้รับการศึกษาครั้งแรกในปี คศ. 1930 ซึ่งปัจจุบันรู้จักกันในชื่อว่า noninvasive positive-pressure ventilation (NPPV) ซึ่งสามารถนำมาใช้ในการรักษาภาวะการหายใจล้มเหลวทั้งแบบเฉียบพลันและเรื้อรัง ในประชากรผู้ป่วยบางกลุ่ม NPPV มีประโยชน์เพื่อช่วยหายใจโดยไม่ต้องมีความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับการใส่ท่อช่วยหายใจ บุคลากรผู้ให้บริการทางสุขภาพทั้งหมดควรจะต้องคุ้นเคยกับเกณฑ์ที่ควรเลือกใช้ในผู้ป่วย, มีอุปกรณ์, และการตั้งค่าเครื่องช่วยหายใจที่เหมาะสม โดยวิดีโอจะทบทวนเกี่ยวกับเรื่องาเหล่า เน้นนี้ให้ความสำคัญไปที่ทางเดินหายใจล้มเหลวเฉียบพลัน
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-Overview
-Indications
-Contraindications
-Equipment
Interface
Ventilators
-Procedure
-Summary
อ้างอิงและอ่านต่อโดยละเอียด: http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMvcm1313336
วันพุธที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2558
3,212 แนวทางปฏิบัติมาตรฐานกรณีผู้ป่วยวัณโรคเดินทางโดยอากาศยานระหว่างประเทศ
แนวทางปฏิบัติมาตรฐานกรณีผู้ป่วยวัณโรคเดินทางโดยอากาศยานระหว่างประเทศ
(Standard Operating Procedure “Tuberculosis in Air Travel”)
(Standard Operating Procedure “Tuberculosis in Air Travel”)
วันอังคารที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2558
วันจันทร์ที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2558
3,210 คู่มือแนวทางการปฏิบัติการฉุกเฉินทางน้ำและทางทะเล
โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (สพฉ.)
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-หมวดที่ 1 แนวทางการป้องกันการป่วยเจ็บจากน้ำและทะเล
Aquatic Safety and Prevention Guidelines
-หมวดที่ 2 แนวทางการช่วยชีวิตทางน้ำ
Aquatic Rescue Guidelines
-หมวดที่ 3 แนวทางการดูแลผู้ป่วยเจ็บจากน้ำและทะเล
Aquatic Casualties Care Guidelines
-หมวดที่ 4 แนวทางการลำเลียงและการส่งต่อทางน้ำ
Aquatic Casualties Evacuation and
Transportation Guidelines
-ภาคผนวก
ลิ้งค์ http://www.niems.go.th/th/DownloadFile.aspx?CateType=DataService&ContentId=25580514035925448
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-หมวดที่ 1 แนวทางการป้องกันการป่วยเจ็บจากน้ำและทะเล
Aquatic Safety and Prevention Guidelines
-หมวดที่ 2 แนวทางการช่วยชีวิตทางน้ำ
Aquatic Rescue Guidelines
-หมวดที่ 3 แนวทางการดูแลผู้ป่วยเจ็บจากน้ำและทะเล
Aquatic Casualties Care Guidelines
-หมวดที่ 4 แนวทางการลำเลียงและการส่งต่อทางน้ำ
Aquatic Casualties Evacuation and
Transportation Guidelines
-ภาคผนวก
ลิ้งค์ http://www.niems.go.th/th/DownloadFile.aspx?CateType=DataService&ContentId=25580514035925448