Review article
N Engl J Med April 30, 2015
โรคกล้ามเนื้ออักเสบ (inflammatory myopathies) เป็นกลุ่มที่ใหญ่ที่สุดของการเกิดพยาธิสภาพที่กล้ามเนื้อที่สามารถให้การรักษาได้ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีความแตกต่างกันของความผิดปกติที่มีการแบ่งแยกที่ดีที่สุดบนพื้นฐานของคุณสมบัติที่แตกต่างกันทางพยาธิวิทยาคลินิค ได้เป็นสี่ชนิดย่อยได้แก่ dermatomyositis, polymyositis, necrotizing autoimmune myositis, และ inclusion-body myositis (ซึ่งโดยตลอดบทความนี้ จะใช้คำนี้เพื่ออ้างถึง specifically - sporadic inclusion-body myositis)
ส่วนชนิดย่อยที่ห้าเรียกว่า overlap myositis ซึ่งเพิ่งเป็นจุดเริ่มของการยอมรับ การจำแนกชนิดย่อยที่ถูกต้องและการแยกความแตกต่างของสภาวะเหล่านี้จากโรคอื่น ๆ ที่มีลักษณคล้ายคลึงกันถือเป็นพื้นฐานที่สำคัญ เพราะแต่ละชนิดย่อยจะมีการพยากรณ์โรคและการตอบสนองต่อการรักษาที่แตกต่างกัน
ซึ่งในบทความนี้สะท้อนให้เห็นถึงความรู้ในปัจจุบันของสภาวะนี้ ไฮไลท์ถึงวิธีที่ดีที่สุดที่จะหลีกเลี่ยงการวินิจฉัยที่ผิดพลาด, การอธิบายคุณสมบัติหลักทางทางพยาธิวิทยาคลินิคและภูมิคุ้มกันวิทยา และเสนอแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการรักษา
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-General Clinical Features
-Specific Clinical Features
Dermatomyositis
Polymyositis
Necrotizing Autoimmune Myositis
Inclusion-Body Myositis
-Diagnosis
-Pathologic Mechanisms
Immunopathology
Degenerative Component of Inclusion-Body Myositis
-Treatment of Dermatomyositis, Polymyositis, and Necrotizing Autoimmune Myositis
-Treatment of Inclusion-Body Myositis
-Source Information
อ้างอิงและอ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMra1402225
เพื่อการเรียนรู้ medicine และสุขภาพที่ดีของประชาชน (community hospital) * เดิมคือ Phimaimedicine.blogspot.com * ตอนนี้มาปฏิบัติงานอยู่ที่ รพ. ขนอม นครศรีธรรมราชครับ
หน้าเว็บ
▼
วันพฤหัสบดีที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2558
วันพุธที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2558
3,177 จริยธรรมทางการแพทย์ในยุคปัจจุบัน
โดย อ. นพ. นิธิพัฒน์ เจียรกุล
รองเลขานุการคณะอนุกรรมการฝึกอบรมและสอบ ราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทย
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-บทนำ
-การทำหน้าที่แทนบุคคลที่สาม
-การรักษาความลับของผู้ป่วย
-เวชระเบียน
-การเปิดเผยข้อมูล
-การขอความยินยอม
-การตรวจทางพันธุกรรม
-ความเสี่ยงทางสุขภาพของตัวแพทย์เองและตัวผู้ป่วย
-การปฏิบัติงานในสถานการณ์จากมหันตภัยธรรมชาติ
-การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
-การออกใบรับรองแพทย์
-การให้บริการบุคคลจำเพาะ
-การเปลี่ยนบทบาทมาเป็นผู้ป่วยหรือญาติผู้ป่วย
-ความสัมพันธ์เชิงชู้สาว
-ขอบเขตความเป็นส่วนตัว
-การรับของสมนาคุณ
-การรักษาที่ไร้ประโยชน์
-การบริจาคอวัยวะเพื่อการปลูกถ่าย
-ผลประโยชน์ทับซ็อนทางธุรกิจ
-ความรับผิดชอบต่อสังคม
-ความมีส่วนร่วมในการใช้จ่ายทรัพยากรสุขภาพให้เหมาะสม
-บทบาทของแพทย์ต่อกิจการของรัฐ
-การแพทย์ไร้พรมแดน
-ปฏิสัมพันธ์ระหว่างแพทย์ด้วยกันเองในหน้าที่
-การปฏิบัติเมื่อตัวแพทย์ป่วย
-การทบทวนเวชปฏิบัติในกลุ่มแพทย์ด้วยท่วงทีกัลยาณมิตร
-การมีส่วนรวมในงานวิจัยทางการแพทย์
-บทส่งทาย
ลิ้งค์ http://www.rcpt.org/index.php/2012-10-03-16-53-39/category/3-2012-10-09-14-46-45.html?download=19%3A2012-11-01-16-33-35
รองเลขานุการคณะอนุกรรมการฝึกอบรมและสอบ ราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทย
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-บทนำ
-การทำหน้าที่แทนบุคคลที่สาม
-การรักษาความลับของผู้ป่วย
-เวชระเบียน
-การเปิดเผยข้อมูล
-การขอความยินยอม
-การตรวจทางพันธุกรรม
-ความเสี่ยงทางสุขภาพของตัวแพทย์เองและตัวผู้ป่วย
-การปฏิบัติงานในสถานการณ์จากมหันตภัยธรรมชาติ
-การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
-การออกใบรับรองแพทย์
-การให้บริการบุคคลจำเพาะ
-การเปลี่ยนบทบาทมาเป็นผู้ป่วยหรือญาติผู้ป่วย
-ความสัมพันธ์เชิงชู้สาว
-ขอบเขตความเป็นส่วนตัว
-การรับของสมนาคุณ
-การรักษาที่ไร้ประโยชน์
-การบริจาคอวัยวะเพื่อการปลูกถ่าย
-ผลประโยชน์ทับซ็อนทางธุรกิจ
-ความรับผิดชอบต่อสังคม
-ความมีส่วนร่วมในการใช้จ่ายทรัพยากรสุขภาพให้เหมาะสม
-บทบาทของแพทย์ต่อกิจการของรัฐ
-การแพทย์ไร้พรมแดน
-ปฏิสัมพันธ์ระหว่างแพทย์ด้วยกันเองในหน้าที่
-การปฏิบัติเมื่อตัวแพทย์ป่วย
-การทบทวนเวชปฏิบัติในกลุ่มแพทย์ด้วยท่วงทีกัลยาณมิตร
-การมีส่วนรวมในงานวิจัยทางการแพทย์
-บทส่งทาย
ลิ้งค์ http://www.rcpt.org/index.php/2012-10-03-16-53-39/category/3-2012-10-09-14-46-45.html?download=19%3A2012-11-01-16-33-35
วันอังคารที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2558
3,176 คู่มือนิเทศการดำเนินงานป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก และการให้บริการปรึกษาแบบคู่ เพื่อตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวี
โดยสำนักส่งเสิรมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
ศูนย์ความร่วมมือไทย-สหรัฐ ด้านสาธารณสุข
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-ข้อแนะนำการใช้คู่มือ
-ความหมายของคำย่อ/อักษรย่อ
-บทที่ 1 บทนำ
-บทที่ 2 แนวทางการนิเทศ
-บทที่ 3 หัวข้อและประเด็นการนิเทศ
-บทที่ 4 การรายงานสรุปผลการนิเทศ
-ภาคผนวก ก
วันจันทร์ที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2558
3,175 หนังสือการทบทวนองค์ความรู้เกี่ยวกับการควบคุมการบริโภคยาสูบ
โดย เนาวรัตน์ เจริญค้า,นิภาพรรณ กังสกุลนิติ,นิทัศน์ ศิริโชติรัตน์,ชวาลา ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม,สถาพร จิรัตนานนท์,Stephen Hamann
สนับสนุนโดยสำนักโรคไม่ติดต่อ กองควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-พฤติกรรมการสูบบุหรี่ในกลุ่มต่างๆ
-โรคภัยที่เกิดจากการสูบบุหรี่
-ภาวะทางเศรษฐกิจ
-ภาคการสื่อสาร
-ภาคส่วนการเมือง
สนับสนุนโดยสำนักโรคไม่ติดต่อ กองควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-พฤติกรรมการสูบบุหรี่ในกลุ่มต่างๆ
-โรคภัยที่เกิดจากการสูบบุหรี่
-ภาวะทางเศรษฐกิจ
-ภาคการสื่อสาร
-ภาคส่วนการเมือง
วันอาทิตย์ที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2558
3,174 แนวทางการดูแลผู้ป่วยปลูกถ่ายตับ
แนวทางการดูแลผู้ป่วยปลูกถ่ายตับ
(Thai transplant care (TTC) liver)
โดยสมาคมปลูกถ่ายอวัยวะแห่งประเทศไทย
Thai Transplantation Society
เมษายน 2558
(Thai transplant care (TTC) liver)
โดยสมาคมปลูกถ่ายอวัยวะแห่งประเทศไทย
Thai Transplantation Society
เมษายน 2558
วันเสาร์ที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2558
3,173 แนวทางปฏิบัติในการดูแลรักษาผู้ป่วยติดสุราที่มีภาวะถอนพิษสุราแบบรุนแรงสำหรับทีมสหวิชาชีพ
โดยโรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-แนวทางปฏิบัติในการดูแลรักษาผู้ป่วย ติดสุราที่มีภาวะถอนพิษสุราแบบรุนแรง (Delirium Tremens) สำหรับแพทย์
-แนวทางปฏิบัติในการดูแลรักษาผู้ป่วย ติดสุราที่มีภาวะถอนพิษสุราแบบรุนแรง (Delirium Tremens) สำหรับตึกผู้ป่วยใน
-แนวทางปฏิบัติในการดูแลรักษาผู้ป่วย ติดสุราที่มีภาวะถอนพิษสุราแบบรุนแรง (Delirium Tremens) สำหรับงานโภชนาการ
-แนวทางปฏิบัติในการดูแลรักษาผู้ป่วย ติดสุราที่มีภาวะถอนพิษสุราแบบรุนแรง (Delirium Tremens)สำหรับเภสัชกร
-แนวทางปฏิบัติในการดูแลรักษาผู้ป่วย ติดสุราที่มีภาวะถอนพิษสุราแบบรุนแรง (Delirium Tremens)สำหรับนักจิตวิทยา
-แนวทางปฏิบัติในการดูแลรักษาผู้ป่วย ติดสุราที่มีภาวะถอนพิษสุราแบบรุนแรง (Delirium Tremens)สำหรับนักสังคมสงเคราะห์
-แนวทางปฏิบัติในการดูแลรักษาผู้ป่วย ติดสุราที่มีภาวะถอนพิษสุราแบบรุนแรง (Delirium Tremens)สำหรับบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ
-แนวทางปฏิบัติในการดูแลรักษาผู้ป่วย ติดสุราที่มีภาวะถอนพิษสุราแบบรุนแรง (Delirium Tremens)สำหรับหน่วยจิตสังคมบำบัด
-แนวทางปฏิบัติในการดูแลรักษาผู้ป่วย ติดสุราที่มีภาวะถอนพิษสุราแบบรุนแรง (Delirium Tremens) พยาบาลสุขภาพจิตชุมชน
ลิ้งค์ http://www.jvkk.go.th/newweb/CPG/algohol_lession4.aspx
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-แนวทางปฏิบัติในการดูแลรักษาผู้ป่วย ติดสุราที่มีภาวะถอนพิษสุราแบบรุนแรง (Delirium Tremens) สำหรับแพทย์
-แนวทางปฏิบัติในการดูแลรักษาผู้ป่วย ติดสุราที่มีภาวะถอนพิษสุราแบบรุนแรง (Delirium Tremens) สำหรับตึกผู้ป่วยใน
-แนวทางปฏิบัติในการดูแลรักษาผู้ป่วย ติดสุราที่มีภาวะถอนพิษสุราแบบรุนแรง (Delirium Tremens) สำหรับงานโภชนาการ
-แนวทางปฏิบัติในการดูแลรักษาผู้ป่วย ติดสุราที่มีภาวะถอนพิษสุราแบบรุนแรง (Delirium Tremens)สำหรับเภสัชกร
-แนวทางปฏิบัติในการดูแลรักษาผู้ป่วย ติดสุราที่มีภาวะถอนพิษสุราแบบรุนแรง (Delirium Tremens)สำหรับนักจิตวิทยา
-แนวทางปฏิบัติในการดูแลรักษาผู้ป่วย ติดสุราที่มีภาวะถอนพิษสุราแบบรุนแรง (Delirium Tremens)สำหรับนักสังคมสงเคราะห์
-แนวทางปฏิบัติในการดูแลรักษาผู้ป่วย ติดสุราที่มีภาวะถอนพิษสุราแบบรุนแรง (Delirium Tremens)สำหรับบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ
-แนวทางปฏิบัติในการดูแลรักษาผู้ป่วย ติดสุราที่มีภาวะถอนพิษสุราแบบรุนแรง (Delirium Tremens)สำหรับหน่วยจิตสังคมบำบัด
-แนวทางปฏิบัติในการดูแลรักษาผู้ป่วย ติดสุราที่มีภาวะถอนพิษสุราแบบรุนแรง (Delirium Tremens) พยาบาลสุขภาพจิตชุมชน
ลิ้งค์ http://www.jvkk.go.th/newweb/CPG/algohol_lession4.aspx
วันศุกร์ที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2558
3,172 การบําบัดเพื่อเสริมสร้างแรงจูงใจ (Motivational interview)
โดย นพ.นันทวัช สิทธิรักษ์
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-แนวคิดของการบำบัดเพื่อเสริมสร้างแรงจูงใจ
-หลักการพื้นฐานของการบำบัดเพื่อเสริมสร้างแรงจูงใจ
-ขั้นตอนการบำบัด
-การให้บุคคลสำคัญของผู้ป่วยเข้ามามีส่วนร่วม
-เป้าหมาย
-การติดตามและประเมินผลการบำบัด
ลิ้งค์ http://www.si.mahidol.ac.th/th/department/psychiatrics/admin/download_files/4_4_1.pdf
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-แนวคิดของการบำบัดเพื่อเสริมสร้างแรงจูงใจ
-หลักการพื้นฐานของการบำบัดเพื่อเสริมสร้างแรงจูงใจ
-ขั้นตอนการบำบัด
-การให้บุคคลสำคัญของผู้ป่วยเข้ามามีส่วนร่วม
-เป้าหมาย
-การติดตามและประเมินผลการบำบัด
ลิ้งค์ http://www.si.mahidol.ac.th/th/department/psychiatrics/admin/download_files/4_4_1.pdf
วันพฤหัสบดีที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2558
3,171 Uterine fibroids
Clinical practice
N Engl J Med April 23, 2015
Key clinical points
-พบได้บ่อยในหญิงวัยเจริญพันธุ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้หญิงผิวดำซึ่งจะมีความชุกมากกว่า และมักจะมีความสัมพันธ์กับอาการที่รุนแรงมากกว่าในคนผิวขาว
-การตัดมดลูก (hysterectomy) เป็นวิธีการรักษาที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดสำหรับเนื้องอกชนิดนี้และลดความเสี่ยงของการก่อตัวใหม่ แต่ก็ไม่ได้เป็นที่ยอมรับของผู้หญิงจำนวนมากและเป็นการรักษาที่ลุกล้ำมากกว่าการรักษาทางเลือก
-ทางเลือกในการเก็บมดลูกไว้พิจารณาจากขนาด, จำนวน, และตำแหน่งของเนื้องอก, อาการ, และช่วงเวลาของการเจริญพันธุ์ในผู้ป่วย
-ในผู้หญิงส่วนใหญ่ที่เป็นผู้เนื้องอกชนิด submucosal จะพบว่าเป็นสาเหตุของการเกิดเลือดออก, การส่องกล้องเพื่อตัดเฉพาะก้อนเนื้องอก (myomectomy) เป็นการรักษาลำดับแรกและผู้ป่วยพื้นตัวได้รวดเร็ว
รวมถึงเพื่อการตั้งครรภ์ในอนาคต
-ในผู้ที่มีประจำเดือนออกมากที่ไม่ได้มีเนื้องอกชนิด submucosal การรักษาทางการแพทย์ที่มีประสิทธิภาพได้แก่ฮอร์โมนคุมกำเนิด (รวมถึงห่วงคุมกำเนิดที่มีฮอร์โมนโปรเจสตินเป็นองค์ประกอบ ),
tranexamic, และ NSAID
-ในผู้หญิงที่มีอาการที่สัมพันธ์กับเนื้องอก การรักษาทางเลือกของการตัดมดลูกได้แก่การตัดเฉพาะก้อนเนื้องอก, การอุดหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงก้อนเนื้อ (uterine-artery), การใช้อัลตราซาวนด์ช่วยในการผ่าตัดเฉพาะตำแหน่งนั้น, และการผ่าตัดด้วยคลื่นความถี่วิทยุ
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-The Clinical Problem
-Strategies and Evidence
Diagnosis
Treatment
-Areas of Uncertainty
-Guidelines
-Conclusions and Recommendations
-Source Information
อ้างอิงและอ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMcp1411029
N Engl J Med April 23, 2015
Key clinical points
-พบได้บ่อยในหญิงวัยเจริญพันธุ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้หญิงผิวดำซึ่งจะมีความชุกมากกว่า และมักจะมีความสัมพันธ์กับอาการที่รุนแรงมากกว่าในคนผิวขาว
-การตัดมดลูก (hysterectomy) เป็นวิธีการรักษาที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดสำหรับเนื้องอกชนิดนี้และลดความเสี่ยงของการก่อตัวใหม่ แต่ก็ไม่ได้เป็นที่ยอมรับของผู้หญิงจำนวนมากและเป็นการรักษาที่ลุกล้ำมากกว่าการรักษาทางเลือก
-ทางเลือกในการเก็บมดลูกไว้พิจารณาจากขนาด, จำนวน, และตำแหน่งของเนื้องอก, อาการ, และช่วงเวลาของการเจริญพันธุ์ในผู้ป่วย
-ในผู้หญิงส่วนใหญ่ที่เป็นผู้เนื้องอกชนิด submucosal จะพบว่าเป็นสาเหตุของการเกิดเลือดออก, การส่องกล้องเพื่อตัดเฉพาะก้อนเนื้องอก (myomectomy) เป็นการรักษาลำดับแรกและผู้ป่วยพื้นตัวได้รวดเร็ว
รวมถึงเพื่อการตั้งครรภ์ในอนาคต
-ในผู้ที่มีประจำเดือนออกมากที่ไม่ได้มีเนื้องอกชนิด submucosal การรักษาทางการแพทย์ที่มีประสิทธิภาพได้แก่ฮอร์โมนคุมกำเนิด (รวมถึงห่วงคุมกำเนิดที่มีฮอร์โมนโปรเจสตินเป็นองค์ประกอบ ),
tranexamic, และ NSAID
-ในผู้หญิงที่มีอาการที่สัมพันธ์กับเนื้องอก การรักษาทางเลือกของการตัดมดลูกได้แก่การตัดเฉพาะก้อนเนื้องอก, การอุดหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงก้อนเนื้อ (uterine-artery), การใช้อัลตราซาวนด์ช่วยในการผ่าตัดเฉพาะตำแหน่งนั้น, และการผ่าตัดด้วยคลื่นความถี่วิทยุ
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-The Clinical Problem
-Strategies and Evidence
Diagnosis
Treatment
-Areas of Uncertainty
-Guidelines
-Conclusions and Recommendations
-Source Information
อ้างอิงและอ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMcp1411029
วันพุธที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2558
3,170 แนวทางการบำบัดรักษาการติดสารเสพติดกลุ่มโอปิออยด์ด้วยเมทาโดนระยะยาว
แนวทางการบำบัดรักษาการติดสารเสพติดกลุ่มโอปิออยด์ด้วยเมทาโดนระยะยาว
(Guidelines for Methadone Maintenance Treatment of Opioids Dependence)
โดยศูนย์วิชาการด้านยาเสพติด
สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
การบำบัดรักษาการเสพติดกลุ่มโอปิออยด์ด้วยเมทาโดนระยะยาวเป็นรูปแบบการบำบัดรักษาที่เป็นสากล มีประสิทธิภาพ ปลอดภัยและคุ้มค่าทั้งผู้ให้บริการและรับบริการ
สามารถลดจำนวนผู้ที่จะเบี่ยงเบนไปใช้ยาเสพติดที่ผิดกฎหมาย ถือเป็นสาระสำคัญของการลดอันตรายจากการใช้ยา ทำให้ผู้ป่วยมีความมั่นคงในชีวิต
ไม่ต้องหลบซ่อนผู้รักษากฎหมาย และผู้คนรอบด้าน สามารถมีชีวิตความเป็นอยู่และทำหน้าที่ในสังคมได้อย่างปกติสุข ลดจำนวนครั้งของการรอ/รักษาให้เลิกยาเสพติด
ลดปัญหาสุขภาพและค่าใช้จ่ายที่ต้องใช้ในกระบวนการยุติธรรม ลดความเสี่ยงในการรับและแพร่เชื้อเอชไอวีและไวรัสอื่นๆที่ติดต่อทางเลือด
(Guidelines for Methadone Maintenance Treatment of Opioids Dependence)
โดยศูนย์วิชาการด้านยาเสพติด
สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
การบำบัดรักษาการเสพติดกลุ่มโอปิออยด์ด้วยเมทาโดนระยะยาวเป็นรูปแบบการบำบัดรักษาที่เป็นสากล มีประสิทธิภาพ ปลอดภัยและคุ้มค่าทั้งผู้ให้บริการและรับบริการ
สามารถลดจำนวนผู้ที่จะเบี่ยงเบนไปใช้ยาเสพติดที่ผิดกฎหมาย ถือเป็นสาระสำคัญของการลดอันตรายจากการใช้ยา ทำให้ผู้ป่วยมีความมั่นคงในชีวิต
ไม่ต้องหลบซ่อนผู้รักษากฎหมาย และผู้คนรอบด้าน สามารถมีชีวิตความเป็นอยู่และทำหน้าที่ในสังคมได้อย่างปกติสุข ลดจำนวนครั้งของการรอ/รักษาให้เลิกยาเสพติด
ลดปัญหาสุขภาพและค่าใช้จ่ายที่ต้องใช้ในกระบวนการยุติธรรม ลดความเสี่ยงในการรับและแพร่เชื้อเอชไอวีและไวรัสอื่นๆที่ติดต่อทางเลือด
วันอังคารที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2558
3,169 โรคลิชมาเนียซีส (Leishmaniasis)
โดยสำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-สาเหตุ
-การก่อโรค
-ระบาดวิทยา
-แมลงนำโรค
-การติดต่อ
-อาการและอาการแสดง
-การวินิจฉัยและการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ
-การป้องกันโรค
-การเฝ้าระวังโรคในพื้นที่
-การควบคุมโรค
ลิ้งค์ http://www.thaivbd.org/uploads/upload/Documents/I020.pdf
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-สาเหตุ
-การก่อโรค
-ระบาดวิทยา
-แมลงนำโรค
-การติดต่อ
-อาการและอาการแสดง
-การวินิจฉัยและการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ
-การป้องกันโรค
-การเฝ้าระวังโรคในพื้นที่
-การควบคุมโรค
ลิ้งค์ http://www.thaivbd.org/uploads/upload/Documents/I020.pdf
วันจันทร์ที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2558
3,168 รูปภาพเชื้อมาลาเรียที่พบในคน (human plasmodium)
โดยคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล
เป็นโปสเตอร์รูปภาพซึ่งประกอบไปด้วยการย้อมฟิล์มเลือดบาง และการย้อมฟิล์มเลือดหนาในระยะต่างๆ ของ
-Plasmodium falciparum
-Plasmodium vivax
-Plasmodium malariae
-Plasmodium ovale
ลิ้งค์ดาวน์โหลด http://www.tm.mahidol.ac.th/eng/download/Poster-Human-Plasmodiam.rar
เป็นโปสเตอร์รูปภาพซึ่งประกอบไปด้วยการย้อมฟิล์มเลือดบาง และการย้อมฟิล์มเลือดหนาในระยะต่างๆ ของ
-Plasmodium falciparum
-Plasmodium vivax
-Plasmodium malariae
-Plasmodium ovale
ลิ้งค์ดาวน์โหลด http://www.tm.mahidol.ac.th/eng/download/Poster-Human-Plasmodiam.rar
วันอาทิตย์ที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2558
3,167 คู่มือแนวทางสำหรับการให้รหัสโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
โดยกลุ่มศูนย์การแพทย์เฉพาะทางอาชีวเวชศาสตร์. และเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม. โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี
จัดทำโดยนายแพทย จรัส โชคสุวรรณกิจ
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-บทนำ
-ความสำคัญ และความเป็นมา
-การจำแนก และ การแจ้งหรือรายงานโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพ
-แนวทางการให้รหัสโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
-ภาคผนวก
ลิ้งค์ http://www.pungooy.com/mrsubon/news/01.pdf
จัดทำโดยนายแพทย จรัส โชคสุวรรณกิจ
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-บทนำ
-ความสำคัญ และความเป็นมา
-การจำแนก และ การแจ้งหรือรายงานโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพ
-แนวทางการให้รหัสโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
-ภาคผนวก
ลิ้งค์ http://www.pungooy.com/mrsubon/news/01.pdf
วันเสาร์ที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2558
3,166 ระบบเฝ้าระวัง 5 กลุ่มโรค 5 มิติ
โดยสำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบไปด้วย
บทที่ 1 ภาพรวมระบบเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
บทที่ 2 ระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อ
บทที่ 3 ระบบเฝ้าระวังโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
บทที่ 4 ระบบเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อ
บทที่ 5ระบบเฝ้าระวังการบาดเจ็บ
บทที่ 6 ระบบเฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
ภาคผนวก
ลิ้งค์ http://www.boe.moph.go.th/files/report/20150115_39396691.pdf
บทที่ 1 ภาพรวมระบบเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
บทที่ 2 ระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อ
บทที่ 3 ระบบเฝ้าระวังโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
บทที่ 4 ระบบเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อ
บทที่ 5ระบบเฝ้าระวังการบาดเจ็บ
บทที่ 6 ระบบเฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
ภาคผนวก
ลิ้งค์ http://www.boe.moph.go.th/files/report/20150115_39396691.pdf
วันศุกร์ที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2558
3,165 ว่าด้วยเรื่อง osmolality gap
Osmolality gap เป็นตัวบ่งบอกถึงตัวละลายที่ไม่สามารถวัดได้ในเลือด คือนอกเหนือไปจาก sodium, glucose, และ urea ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการค้นหาภาวะ metabolic acidosis ในผู้ป่วย
สูตร = osmolality จากการตรวจในเลือด - osmolality ที่ได้จากการคำนวน
(การคำนวน osmolality = (2 x serum [Na]) + [glucose, in mg/dL]/18 + [blood urea nitrogen, in mg/dL]/2.8)
-พบว่า 97% ของผู้ป่วยมี osmolality gap อยู่ในช่วง +10 ถึง -10
-osmolality gap ที่มากกว่า 15 ถือว่าเป็นจุดตัดหริจุดวิกฤติ
-สภาวะที่มี pH ในเลือดต่ำ และมีการเพิ่มของ anion gap และมี osmolality gap สูง เป็นภาวะที่ต้องรีบให้การรักษาอย่างเร่งด่วน
-สาเหตุที่เป็นไปได้ ได้แก่ ETOH, Ethylene glycol, Methyl alcohol, Isopropyl alcohol, Diabetes ketoacidosis, Advanced chronic kidney disease
Ref: https://www.healthcare.uiowa.edu/path_handbook/Appendix/Calculators/OsmoGap.html
http://www.uptodate.com/contents/serum-osmolal-gap
สูตร = osmolality จากการตรวจในเลือด - osmolality ที่ได้จากการคำนวน
(การคำนวน osmolality = (2 x serum [Na]) + [glucose, in mg/dL]/18 + [blood urea nitrogen, in mg/dL]/2.8)
-พบว่า 97% ของผู้ป่วยมี osmolality gap อยู่ในช่วง +10 ถึง -10
-osmolality gap ที่มากกว่า 15 ถือว่าเป็นจุดตัดหริจุดวิกฤติ
-สภาวะที่มี pH ในเลือดต่ำ และมีการเพิ่มของ anion gap และมี osmolality gap สูง เป็นภาวะที่ต้องรีบให้การรักษาอย่างเร่งด่วน
-สาเหตุที่เป็นไปได้ ได้แก่ ETOH, Ethylene glycol, Methyl alcohol, Isopropyl alcohol, Diabetes ketoacidosis, Advanced chronic kidney disease
Ref: https://www.healthcare.uiowa.edu/path_handbook/Appendix/Calculators/OsmoGap.html
http://www.uptodate.com/contents/serum-osmolal-gap
วันพฤหัสบดีที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2558
3,164 Clostridium difficile Infection
Review article
N Engl J Med April 16, 2015
เป็นเชื้อแกรมบวกรูปแท่งที่ไม่ใช้ออกซิเจน, สร้างสปอร์, สามารถสร้างสารพิษที่ติดต่อในมนุษย์ด้วยกันผ่านทางการรับประทานอาหารที่ปนเปื้อนอุจจาระ (fecal–oral route)
ความสัมพันธ์ระหว่างบาซิลลัสและมนุษย์นี้ครั้งหนึ่งเคยคิดว่าจะเป็นการอาศัยอยู่ร่วมกันโดยไม่ทำอันตรายแก่กัน แต่พบว่า C. difficile ได้กลายเป็นเชื้อโรคในลำไส้ที่สำคัญโดยทั่วโลก ในประเทศสหรัฐอเมริกา, C. difficile มีรายงานมากที่สุดของเชื้อในโรงพยาบาล การศึกษาการเฝ้าระวังในปี 2011 ระบุว่า การติดเชื้อ C. difficile จำนวน 453,000 คนและ 29,000 เสียชีวิตมีความเกี่ยวข้องกับการติดเชื้อ C. difficile; ประมาณหนึ่งในสี่ของการติดเชื้อเหล่านั้นได้มาจากชุมชน (community-acquired)
ในโรงพยาบาลการติดเชื้อ C. difficile ทำให้ค่าใช้จ่ายในโรงพยาบาลเพิ่มขึ้นสี่เท่า เพิ่มค่าใช้จ่ายประจำปีประมาณ 1,500,000,000 เหรียญในสหรัฐอเมริกา
ซึ่งในบทความนี้จะตรวจสอบระบาดวิทยาที่เปลี่ยนแปลงไปของการติดเชื้อนี้ การปรึษาหารือเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยงและกลยุทธ์การป้องกัน, ร่างคำแนะนำในปัจจุบันของการรักษา และเน้นการพัฒนากลยุทธ์สำหรับการควบคุมโรค
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-Pathogenesis and Epidemiology
-Risk Factors
-Diagnosis
-Prevention
-Treatment of Acute Infection
-Treatment of Recurrent Infection
-mmunization
-Summary
-Source Information
อ้างอิงและอ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMra1403772
N Engl J Med April 16, 2015
เป็นเชื้อแกรมบวกรูปแท่งที่ไม่ใช้ออกซิเจน, สร้างสปอร์, สามารถสร้างสารพิษที่ติดต่อในมนุษย์ด้วยกันผ่านทางการรับประทานอาหารที่ปนเปื้อนอุจจาระ (fecal–oral route)
ความสัมพันธ์ระหว่างบาซิลลัสและมนุษย์นี้ครั้งหนึ่งเคยคิดว่าจะเป็นการอาศัยอยู่ร่วมกันโดยไม่ทำอันตรายแก่กัน แต่พบว่า C. difficile ได้กลายเป็นเชื้อโรคในลำไส้ที่สำคัญโดยทั่วโลก ในประเทศสหรัฐอเมริกา, C. difficile มีรายงานมากที่สุดของเชื้อในโรงพยาบาล การศึกษาการเฝ้าระวังในปี 2011 ระบุว่า การติดเชื้อ C. difficile จำนวน 453,000 คนและ 29,000 เสียชีวิตมีความเกี่ยวข้องกับการติดเชื้อ C. difficile; ประมาณหนึ่งในสี่ของการติดเชื้อเหล่านั้นได้มาจากชุมชน (community-acquired)
ในโรงพยาบาลการติดเชื้อ C. difficile ทำให้ค่าใช้จ่ายในโรงพยาบาลเพิ่มขึ้นสี่เท่า เพิ่มค่าใช้จ่ายประจำปีประมาณ 1,500,000,000 เหรียญในสหรัฐอเมริกา
ซึ่งในบทความนี้จะตรวจสอบระบาดวิทยาที่เปลี่ยนแปลงไปของการติดเชื้อนี้ การปรึษาหารือเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยงและกลยุทธ์การป้องกัน, ร่างคำแนะนำในปัจจุบันของการรักษา และเน้นการพัฒนากลยุทธ์สำหรับการควบคุมโรค
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-Pathogenesis and Epidemiology
-Risk Factors
-Diagnosis
-Prevention
-Treatment of Acute Infection
-Treatment of Recurrent Infection
-mmunization
-Summary
-Source Information
อ้างอิงและอ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMra1403772
วันพุธที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2558
3,163 ภาวะกล้ามเนื้อหูรูดหลอดอาหารส่วนบนผิดปกติ
ภาวะกล้ามเนื้อหูรูดหลอดอาหารส่วนบนผิดปกติ
(Upper esophageal sphincter dysfunction)
โดยพญ. ภัทรา วัฒนพันธุ์, พ.บ., ว.ว. เวชศาสตรฟื้นฟู
สำนักวิชาแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
เวชศาสตรฟื้นฟูสาร 2557; 24(3): 73-75
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-กายวิภาคหูรูดหลอดอาหารส่วนบน
-อาการและอาการแสดง
-การตรวจประเมิน
-แนวทางการรักษา
-สรุป
-เอกสารอ้างอิง
ลิ้งค์ http://rehabmed.or.th/main/wp-content/uploads/2015/01/L-376.pdf
(Upper esophageal sphincter dysfunction)
โดยพญ. ภัทรา วัฒนพันธุ์, พ.บ., ว.ว. เวชศาสตรฟื้นฟู
สำนักวิชาแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
เวชศาสตรฟื้นฟูสาร 2557; 24(3): 73-75
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-กายวิภาคหูรูดหลอดอาหารส่วนบน
-อาการและอาการแสดง
-การตรวจประเมิน
-แนวทางการรักษา
-สรุป
-เอกสารอ้างอิง
ลิ้งค์ http://rehabmed.or.th/main/wp-content/uploads/2015/01/L-376.pdf
วันอังคารที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2558
3,162 การดูแลผู้ป่วยกลุ่มอาการปวดเรื้อรังระบบกระดูกและกล้ามเนื้อด้วยการแพทย์ผสมผสาน
โดย กลุ่มงานพัฒนาวิชาการ สำนักการแพทย์ทางเลือก
กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
บทที่ 1 เรื่องน่ารู้ของอาการปวดเรื้อรัง
บทที่ 2 การดูแลผู้ป่วยอาการปวดเรื้อรังด้วยการแพทย์ผสมผสาน
บทที่ 3 ตัวอย่างการดำเนินงานสถานบริการต้นแบบ
ภาคผนวก
ลิ้งค์ http://www.thaicam.go.th/index.php?option=com_attachments&task=download&id=949
กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
บทที่ 1 เรื่องน่ารู้ของอาการปวดเรื้อรัง
บทที่ 2 การดูแลผู้ป่วยอาการปวดเรื้อรังด้วยการแพทย์ผสมผสาน
บทที่ 3 ตัวอย่างการดำเนินงานสถานบริการต้นแบบ
ภาคผนวก
ลิ้งค์ http://www.thaicam.go.th/index.php?option=com_attachments&task=download&id=949
วันจันทร์ที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2558
3,161 เห็ดพิษที่สำคัญในประเทศไทย
เป็นสรุปข้อมูลและรูปภาพเห็ดพิษที่สำคัญในประเทศไทย
จัดทำโดย สมาคมนักวิจัยและเพาะเห็ดแห่งปรเทศไทย
จัดทำโดย สมาคมนักวิจัยและเพาะเห็ดแห่งปรเทศไทย
ลิ้งค์ คลิก
วันอาทิตย์ที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2558
3,160 รายงานการสำรวจการบริโภคอาหารของประชาชนไทย
การสำรวจสุขภาพประชาชนไทย โดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 4 พ.ศ. 2551-2552
รายงานการสำรวจการบริโภคอาหารของประชาชนไทย
สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และกระทรวงสาธารณสุข
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบไปด้วย
-บทที่ 1 ความเป็นมาและวัตถุประสงค์
-บทที่ 2 ระเบียบวิธีการสำรวจ
-บทที่ 3 ผลการสำรวจความถในการบรโภคอาหาร
-บทที่ 4 ผลการสำรวจอาหารบริโภคโดยการสัมภาษณ์อาหารบริโภคทบทวนความจำย้อนหลัง
24 ชั่วโมง
ลิ้งค์ http://www.hisro.or.th/main/download/NHES4_NUTRITION.pdf
รายงานการสำรวจการบริโภคอาหารของประชาชนไทย
สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และกระทรวงสาธารณสุข
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบไปด้วย
-บทที่ 1 ความเป็นมาและวัตถุประสงค์
-บทที่ 2 ระเบียบวิธีการสำรวจ
-บทที่ 3 ผลการสำรวจความถในการบรโภคอาหาร
-บทที่ 4 ผลการสำรวจอาหารบริโภคโดยการสัมภาษณ์อาหารบริโภคทบทวนความจำย้อนหลัง
24 ชั่วโมง
วันเสาร์ที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2558
3,159 แนวทางเวชปฏิบัติการวินิจฉัยภาวะต่อมน้ำเหลืองที่คอโต
โดยสำนักพัฒนาวิชาการแพทย์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
แม้ว่าจะพิมพ์เผยแพร่ตั้งแต่ปี 2547 แต่เนื้อหายังสามารถนำมาใช้ในการดูแลรักษาผู้ป่วยได้เป็นอย่างดี
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-วัตถุประสงค์
-กลุ่มเป้าหมาย
-เกณฑ์การวินิจฉัยภาวะต่อมน้ำเหลืองที่คอโต
-การซักประวัติ
-การตรวจร่างกาย
-ภาพแสดงตำแหน่งของต่อมน้ำเหลืองและอวัยวะที่ drain น้ำเหลืองบริเวณคอ
-แผนภูมิแสดงแนวทางการวินิจฉัยภาวะต่อมน้ำเหลืองที่คอโต
-ภาคผนวก ก
-ภาคผนวก ข
-References
ลิงค์ http://www.rcot.org/pdf/CPG-Cervical%20Lymphadenopathy.pdf
แม้ว่าจะพิมพ์เผยแพร่ตั้งแต่ปี 2547 แต่เนื้อหายังสามารถนำมาใช้ในการดูแลรักษาผู้ป่วยได้เป็นอย่างดี
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-วัตถุประสงค์
-กลุ่มเป้าหมาย
-เกณฑ์การวินิจฉัยภาวะต่อมน้ำเหลืองที่คอโต
-การซักประวัติ
-การตรวจร่างกาย
-ภาพแสดงตำแหน่งของต่อมน้ำเหลืองและอวัยวะที่ drain น้ำเหลืองบริเวณคอ
-แผนภูมิแสดงแนวทางการวินิจฉัยภาวะต่อมน้ำเหลืองที่คอโต
-ภาคผนวก ก
-ภาคผนวก ข
-References
ลิงค์ http://www.rcot.org/pdf/CPG-Cervical%20Lymphadenopathy.pdf
วันศุกร์ที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2558
3,158 แนวทางการรักษาผู้ป่วย bipolar disorder
โดยชวนันท์ ชาญศิลป์ พ.บ.
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-บทนำ
-การดำเนินการ (Developmental process)
-นิยาม
-หลักการรักษา
-การรักษา bipolar I disorder
1. ระยะเฉียบพลัน (Acute phase)
2. ระยะต่อเนื่อง (maintenance phase)
-กรณี rapid cycling
-สรุป
-เอกสารอ้างอิง
ลิ้งค์ http://www.psychiatry.or.th/JOURNAL/464/Practice%20Guideline.htm
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-บทนำ
-การดำเนินการ (Developmental process)
-นิยาม
-หลักการรักษา
-การรักษา bipolar I disorder
1. ระยะเฉียบพลัน (Acute phase)
2. ระยะต่อเนื่อง (maintenance phase)
-กรณี rapid cycling
-สรุป
-เอกสารอ้างอิง
ลิ้งค์ http://www.psychiatry.or.th/JOURNAL/464/Practice%20Guideline.htm
วันพฤหัสบดีที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2558
3,157 Cancers complicating inflammatory bowel disease
Review article
N Engl J Med April 9, 2015
Crohn’s disease และ ulcerative colitis เป็นโรคของการอักเสบลำไส้ (inflammatory bowel diseases) ที่มีไปตลอดชีวิตซึ่งยังไม่ทราบสาเหตุที่ชัดเจนโดยมักจะเริ่มต้นในวัยหนุ่มสาว ประมาณการว่าอย่างน้อย 0.4% ของชาวยุโรปและอเมริกาเหนือเป็นโรคนี้ อายุไขเฉลี่ยจะลดลงในผู้ป่วยเป็น Crohn’s disease และในผู้ป่วย ulcerative colitis ที่ได้รับการวินิจฉัยเมื่อเป็นมากแล้วหรือที่ได้รับการวินิจฉัยในวัยเด็ก พบว่ามีผู้เสียชีวิตจำนวนมากจากการติดเชื้อ, โรคหัวใจและหลอดเลือด, และโรคมะเร็งในผู้ป่วยที่มีโรคลำไส้อักเสบ
ความแตกต่างในความเสี่ยงของโรคมะเร็งระหว่างผู้ป่วยที่มีโรคลำไส้อักเสบและประชาชนทั่วไปอาจจะเป็นผลมาจากความแตกต่างในการกระจายของปัจจัยการดำเนินชีวิต ยกตัวอย่าง เช่นการสูบบุหรี่จะพบได้มากในผู้ป่วยที่มีเป็น Crohn’s disease และการสูบบุหรี่ที่พบได้มากนี้จะสัมพันธ์กับการเกิดโรคมะเร็งในประชากรทั้งหมดที่เป็น Crohn’s disease ในทางตรงกันข้ามในผู้ที่ไม่สูบบุหรี่จะพบได้มากกว่าในกลุ่มผู้ป่วยที่เป็น ulcerative colitis จึงมีอัตราการลดลงของการเกิดโรคมะเร็งดังกล่าวในจำนวนประชากรทั้งหมดที่เป็น ulcerative colitis
บทความนี้จะมุ่งเน้นไปที่ ลักษณะทางระบาดวิทยา, การเกิดมะเร็ง, และการป้องกันโรคมะเร็งที่น่าจะมาจากการอักเสบเรื้อรังในลำไส้หรือการเกิดมะเร็งจากยากดภูมิคุ้มกันที่ใช้ในการรักษาโรคลำไส้อักเสบ
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-Cancers Complicating Intestinal Inflammation
Colorectal Cancer
Small-Bowel Adenocarcinoma
Intestinal Lymphomas
Anal Cancers
Cholangiocarcinoma
-Other Cancers Related to Inflammatory Bowel Disease
Hematologic Cancers
Skin Cancers
HPV-Related Cervical Cancer
Urinary-Tract Cancers
Overall Risk and Prevention of Cancers Related to Drugs for Inflammatory Bowel Disease
-Conclusions
-Source Information
อ้างอิงและอ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMra1403718
N Engl J Med April 9, 2015
Crohn’s disease และ ulcerative colitis เป็นโรคของการอักเสบลำไส้ (inflammatory bowel diseases) ที่มีไปตลอดชีวิตซึ่งยังไม่ทราบสาเหตุที่ชัดเจนโดยมักจะเริ่มต้นในวัยหนุ่มสาว ประมาณการว่าอย่างน้อย 0.4% ของชาวยุโรปและอเมริกาเหนือเป็นโรคนี้ อายุไขเฉลี่ยจะลดลงในผู้ป่วยเป็น Crohn’s disease และในผู้ป่วย ulcerative colitis ที่ได้รับการวินิจฉัยเมื่อเป็นมากแล้วหรือที่ได้รับการวินิจฉัยในวัยเด็ก พบว่ามีผู้เสียชีวิตจำนวนมากจากการติดเชื้อ, โรคหัวใจและหลอดเลือด, และโรคมะเร็งในผู้ป่วยที่มีโรคลำไส้อักเสบ
ความแตกต่างในความเสี่ยงของโรคมะเร็งระหว่างผู้ป่วยที่มีโรคลำไส้อักเสบและประชาชนทั่วไปอาจจะเป็นผลมาจากความแตกต่างในการกระจายของปัจจัยการดำเนินชีวิต ยกตัวอย่าง เช่นการสูบบุหรี่จะพบได้มากในผู้ป่วยที่มีเป็น Crohn’s disease และการสูบบุหรี่ที่พบได้มากนี้จะสัมพันธ์กับการเกิดโรคมะเร็งในประชากรทั้งหมดที่เป็น Crohn’s disease ในทางตรงกันข้ามในผู้ที่ไม่สูบบุหรี่จะพบได้มากกว่าในกลุ่มผู้ป่วยที่เป็น ulcerative colitis จึงมีอัตราการลดลงของการเกิดโรคมะเร็งดังกล่าวในจำนวนประชากรทั้งหมดที่เป็น ulcerative colitis
บทความนี้จะมุ่งเน้นไปที่ ลักษณะทางระบาดวิทยา, การเกิดมะเร็ง, และการป้องกันโรคมะเร็งที่น่าจะมาจากการอักเสบเรื้อรังในลำไส้หรือการเกิดมะเร็งจากยากดภูมิคุ้มกันที่ใช้ในการรักษาโรคลำไส้อักเสบ
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-Cancers Complicating Intestinal Inflammation
Colorectal Cancer
Small-Bowel Adenocarcinoma
Intestinal Lymphomas
Anal Cancers
Cholangiocarcinoma
-Other Cancers Related to Inflammatory Bowel Disease
Hematologic Cancers
Skin Cancers
HPV-Related Cervical Cancer
Urinary-Tract Cancers
Overall Risk and Prevention of Cancers Related to Drugs for Inflammatory Bowel Disease
-Conclusions
-Source Information
อ้างอิงและอ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMra1403718
วันพุธที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2558
3,156 แนวทางการดําเนินงานเมื่อพบผู้ป่วยสงสัยโรคคอตีบและการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบไปด้วย
-แนวทางการดำเนินการสอบสวนและควบคุมโรคเบื้องต้นเมื่อสงสัยโรคคอตีบ
-แนวทางการดำเนินการสอบสวนและควบคุมโรคเบื้องต้น เมื่อพบผู้ป่วยเข้าข่ายหรือผู้ป่วยยืนยันโรคคอตีบ
-การให้วัคซีนเพื่อป้องกันควบคุมโรคเมื่อพบผู้ป่วยสงสัยโรคคอตีบ
-การให้วัคซีนเมื่อพบผู้ป่วยเข้าข่ายหรือยืนยันโรคคอตีบ
-หน่วยงานที่ให้การสนับสนุน Diphtheria antitoxin (DAT)
-รายละเอียดการดำเนินงานสอบสวนและควบคุมโรคเบื้องต้น
-นิยามผู้ป่วย และนิยามอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับโรคคอตีบ พ.ศ. 2556
-แบบสอบสวนโรคผู้ป่วยสงสัย และผู้ป่วยคอตีบ (แบบคอตีบ 1)
-แบบรายงานค้นหาผู้สัมผัสใก้ลชิด (แบบคอตีบ 2)
-แบบติดตามอาการ และการกินยาปฏิชีวนะ (แบบคอตีบ 3)
-ทะเบียนแบบรายงานการตรวจ Throat swab หาเชื้อ Corynebacterium diphtheria (แบบคอตีบ 4)
ลิ้งค์ http://www.boe.moph.go.th/getFile.php?fid=358
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบไปด้วย
-แนวทางการดำเนินการสอบสวนและควบคุมโรคเบื้องต้นเมื่อสงสัยโรคคอตีบ
-แนวทางการดำเนินการสอบสวนและควบคุมโรคเบื้องต้น เมื่อพบผู้ป่วยเข้าข่ายหรือผู้ป่วยยืนยันโรคคอตีบ
-การให้วัคซีนเพื่อป้องกันควบคุมโรคเมื่อพบผู้ป่วยสงสัยโรคคอตีบ
-การให้วัคซีนเมื่อพบผู้ป่วยเข้าข่ายหรือยืนยันโรคคอตีบ
-หน่วยงานที่ให้การสนับสนุน Diphtheria antitoxin (DAT)
-รายละเอียดการดำเนินงานสอบสวนและควบคุมโรคเบื้องต้น
-นิยามผู้ป่วย และนิยามอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับโรคคอตีบ พ.ศ. 2556
-แบบสอบสวนโรคผู้ป่วยสงสัย และผู้ป่วยคอตีบ (แบบคอตีบ 1)
-แบบรายงานค้นหาผู้สัมผัสใก้ลชิด (แบบคอตีบ 2)
-แบบติดตามอาการ และการกินยาปฏิชีวนะ (แบบคอตีบ 3)
-ทะเบียนแบบรายงานการตรวจ Throat swab หาเชื้อ Corynebacterium diphtheria (แบบคอตีบ 4)
ลิ้งค์ http://www.boe.moph.go.th/getFile.php?fid=358
วันอังคารที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2558
3,155 เกณฑ์การการประเมินการสูญเสียสมรรถภาพของร่างกายเนื่องจากโรคของเม็ดเลือดขาว
เพื่อเป็นการตรวจประเมินและทำนายความผิดปกติของภูมคุ้มกันของทั้งร่างกายต่อการติดเชื้อ การเกิดมะเร็งบางชนิด และความเสี่ยงชองการติดเชื้อชนิดฉวยโอกาส
ระดับที่ 1
สูญเสียฯ ร้อยละ 0-15 ของทั้งร่างกาย โดยมีอาการ หรืออาการแสดง แต่ไม่ต้องการการรักษา และผู้ป่วยยังสามารถทำกิจวัตรประจำวันได้ตามปกติ
ระดับที่ 2
สูญเสียฯ ร้อยละ 16-30 ของทั้งร่างกาย มีอาการ หรืออาการแสดง และไม่ต้องการการรักษาอย่างต่อเนื่อง แต่ยังสามารถทำกิจวัตรประจำวันได้ตามปกติ
ระดับที่ 3
สูญเสียฯ ร้อยละ 31-55 ของทั้งร่างกาย มีอาการ หรืออาการแสดง และไม่ต้องการการรักษาอย่างต่อเนื่อง และมีการรบกวนการทำกิจวัตรประจำวัน จนต้องการความช่วยเหลือจากบุคคลอื่น
ระดับที่ 4
สูญเสียฯ ร้อยละ 56-100 ของทั้งร่างกาย มีอาการ หรืออาการแสดง และต้องการการรักษาอย่างต่อเนื่อง มีความยากลำบากในการทำกิจวัตรประจำวัน จำเป็นต้องได้รับความช่วยเหลือจากบุคคลอื่นอย่างต่อเนื่อง
อ้างอิง http://www.sso.go.th/sites/default/files/WYSIWYG%20Web%20Builder/sso.html/Chapter_16_645.html
ระดับที่ 1
สูญเสียฯ ร้อยละ 0-15 ของทั้งร่างกาย โดยมีอาการ หรืออาการแสดง แต่ไม่ต้องการการรักษา และผู้ป่วยยังสามารถทำกิจวัตรประจำวันได้ตามปกติ
ระดับที่ 2
สูญเสียฯ ร้อยละ 16-30 ของทั้งร่างกาย มีอาการ หรืออาการแสดง และไม่ต้องการการรักษาอย่างต่อเนื่อง แต่ยังสามารถทำกิจวัตรประจำวันได้ตามปกติ
ระดับที่ 3
สูญเสียฯ ร้อยละ 31-55 ของทั้งร่างกาย มีอาการ หรืออาการแสดง และไม่ต้องการการรักษาอย่างต่อเนื่อง และมีการรบกวนการทำกิจวัตรประจำวัน จนต้องการความช่วยเหลือจากบุคคลอื่น
ระดับที่ 4
สูญเสียฯ ร้อยละ 56-100 ของทั้งร่างกาย มีอาการ หรืออาการแสดง และต้องการการรักษาอย่างต่อเนื่อง มีความยากลำบากในการทำกิจวัตรประจำวัน จำเป็นต้องได้รับความช่วยเหลือจากบุคคลอื่นอย่างต่อเนื่อง
อ้างอิง http://www.sso.go.th/sites/default/files/WYSIWYG%20Web%20Builder/sso.html/Chapter_16_645.html
วันจันทร์ที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2558
3,154 ปริมาณโซเดียมในอาหารต่อหนึ่งหน่วยบริโภค
เป็นแผ่นพับที่บอกปริมาณโซเดียมในอาหารต่อหนึ่งหน่วยบริโภค ในอาหารสำเร็จรูปที่เรารับประทานกันบ่อยๆ จะเป็นประโยชน์ในการเลือกรับประทานอาหารและรู้ปริมาณเกลือที่รับประทานโดยเฉพาะผู้ป่วยที่ต้องการกำจัดเกลือ
ลิ้งค์ดาวน์โหลด คลิก
วันอาทิตย์ที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2558
3,153 แนวทางการดูแลรักษา Exfoliative dermatitis
โดยสถาบันโรคผิวหนัง
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-คำนำ
-นิยาม
-สาเหตุ
-การวินิจฉัย
ลักษณะทางคลินิก
การวินิจฉัยทางห้องปฏิบัตการ
-การรักษามาตรฐาน
-อ้างอิง
ลิ้งค์ http://www.dms.moph.go.th/dmsweb/cpgcorner/exfodermatitis.pdf
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-คำนำ
-นิยาม
-สาเหตุ
-การวินิจฉัย
ลักษณะทางคลินิก
การวินิจฉัยทางห้องปฏิบัตการ
-การรักษามาตรฐาน
-อ้างอิง
ลิ้งค์ http://www.dms.moph.go.th/dmsweb/cpgcorner/exfodermatitis.pdf
วันเสาร์ที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2558
3,152 โปรแกรมนี้ทำขึ้นเพื่อใช้ประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด (Thai CV risk score)
โดยศูนย์หัวใจ หลอดเลือด และเมแทบอลิซึม โรงพยาบาลรามาธิบดี
โปรแกรมนี้ทำขึ้นเพื่อใช้ประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด โดยแสดงผลการประเมินเป็นความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตหรือเจ็บป่วยจากโรคเส้น เลือดหัวใจตีบตัน และโรคเส้นเลือดสมองตีบตันในระยะเวลา 10 ปีข้างหน้า ซึ่งสามารถใช้ได้ทั้งในกรณีที่ท่านไม่มีผลเลือดโดยให้ใช้ขนาดรอบเอวหรือขนาด รอบเอวหารด้วยส่วนสูงแทน และในกรณีที่มีผลการตรวจระดับไขมันในเลือด แบบประเมินนี้สร้างขึ้นจากการติดตามศึกษาหาปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจ และหลอดเลือดในประชากรไทยภายใต้โครงการศึกษาพนักงานการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย เป็นระยะเวลายาวนานกว่า 20 ปี แบบประเมินความเสี่ยงนี้จึงควรใช้เฉพาะในคนไทยที่มีอายุ 35-70 ปี ยังไม่มีโรคหัวใจและหลอดเลือด หากท่านมีข้อสงสัยหรือไม่แน่ใจแนะนำให้เข้ารับการประเมินโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
ลิ้งค์ http://cvmc.host-ed.me/tcvrs/tcvrs/ramaegat.html
โปรแกรมนี้ทำขึ้นเพื่อใช้ประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด โดยแสดงผลการประเมินเป็นความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตหรือเจ็บป่วยจากโรคเส้น เลือดหัวใจตีบตัน และโรคเส้นเลือดสมองตีบตันในระยะเวลา 10 ปีข้างหน้า ซึ่งสามารถใช้ได้ทั้งในกรณีที่ท่านไม่มีผลเลือดโดยให้ใช้ขนาดรอบเอวหรือขนาด รอบเอวหารด้วยส่วนสูงแทน และในกรณีที่มีผลการตรวจระดับไขมันในเลือด แบบประเมินนี้สร้างขึ้นจากการติดตามศึกษาหาปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจ และหลอดเลือดในประชากรไทยภายใต้โครงการศึกษาพนักงานการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย เป็นระยะเวลายาวนานกว่า 20 ปี แบบประเมินความเสี่ยงนี้จึงควรใช้เฉพาะในคนไทยที่มีอายุ 35-70 ปี ยังไม่มีโรคหัวใจและหลอดเลือด หากท่านมีข้อสงสัยหรือไม่แน่ใจแนะนำให้เข้ารับการประเมินโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
ลิ้งค์ http://cvmc.host-ed.me/tcvrs/tcvrs/ramaegat.html
วันศุกร์ที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2558
3,151 Molecular physiology of water balance
Review article
Disorders of fluids and electrolytes
N Engl J Med April 2, 2015
hypothalamic–neurohypophyseal–renal axis ตามปกติจะช่วยรักษาสมดุลของน้ำจากการความหลากหลายของบริโภคน้ำและการสูญเสียน้ำที่ไม่ใด้ผ่านทางไต ความล้มเหลวของกลไกนี้เป็นเรื่องปกติในผู้ป่วยที่เข้ารับรักษาในโรงพยาบาลและส่งผลให้เกิดความผิดปกติของสมดุลน้ำที่มีความหลากหลาย ซึ่งในบทความนี้เราจะเริ่มต้นด้วยการตรวจสอบสิ่งที่เป็นพื้นฐาน, หลักการแบบบูรณาการของความสมดุลของน้ำในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมและจากนั้นใช้สิ่งที่เป็นพื้นฐานนี้เป็นกรอบเพื่อปรึกษาหารือเกี่ยวกับยีนและผลิตภัณฑ์ยีน (โปรตีน) ที่มีส่วนร่วมในความสมดุลของน้ำ ดังนั้นเป้าหมายของเราคือการช่วยให้แพทย์และกลไกพื้นฐานในการตัดสินใจเกี่ยวกับการวินิจฉัยและการรักษาความผิดปกติของน้ำสมดุล
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-Arginine Vasopressin
-Vasopressin Receptors
-Bumetanide-Sensitive Sodium–Potassium–Chloride Cotransporter
-Thiazide-Sensitive Sodium–Chloride Cotransporter
-Aquaporins
-Vasopressin-Regulated Urea Channel
-Epithelial Sodium Channel
-Conclusions
-Source Information
อ้างอิงและอ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMra1404726
Disorders of fluids and electrolytes
N Engl J Med April 2, 2015
hypothalamic–neurohypophyseal–renal axis ตามปกติจะช่วยรักษาสมดุลของน้ำจากการความหลากหลายของบริโภคน้ำและการสูญเสียน้ำที่ไม่ใด้ผ่านทางไต ความล้มเหลวของกลไกนี้เป็นเรื่องปกติในผู้ป่วยที่เข้ารับรักษาในโรงพยาบาลและส่งผลให้เกิดความผิดปกติของสมดุลน้ำที่มีความหลากหลาย ซึ่งในบทความนี้เราจะเริ่มต้นด้วยการตรวจสอบสิ่งที่เป็นพื้นฐาน, หลักการแบบบูรณาการของความสมดุลของน้ำในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมและจากนั้นใช้สิ่งที่เป็นพื้นฐานนี้เป็นกรอบเพื่อปรึกษาหารือเกี่ยวกับยีนและผลิตภัณฑ์ยีน (โปรตีน) ที่มีส่วนร่วมในความสมดุลของน้ำ ดังนั้นเป้าหมายของเราคือการช่วยให้แพทย์และกลไกพื้นฐานในการตัดสินใจเกี่ยวกับการวินิจฉัยและการรักษาความผิดปกติของน้ำสมดุล
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-Arginine Vasopressin
-Vasopressin Receptors
-Bumetanide-Sensitive Sodium–Potassium–Chloride Cotransporter
-Thiazide-Sensitive Sodium–Chloride Cotransporter
-Aquaporins
-Vasopressin-Regulated Urea Channel
-Epithelial Sodium Channel
-Conclusions
-Source Information
อ้างอิงและอ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMra1404726
วันพฤหัสบดีที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2558
3,150 Emergency contraception
Clinical practice
N Engl J Med April 2, 2015
Key clinical points
-การคุมกำเนิดแบบฉุกเฉินจะมีข้อบ่งชี้ในการป้องกันการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์หลังจากมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ได้มีการป้องกัน
-ยาคุมกำเนิดฉุกเฉินชนิดรับประทานสองชนิดที่มีอยู่ โดยที่ ulipristal มีรายงานว่ามีประสิทธิภาพมากกว่า levonorgestrel แม้ว่าความแตกต่างมีเพียงไม่มาก ควรใช้ยาทั้งสองโดยเร็วที่สุดเท่าที่เป็นไปได้หลังจากมีเพศสัมพันธ์ แม้จะปรากฏว่ามีสามารถประสิทธิภาพได้อย่างน้อย 4-5 วันหลังจากมีเพศสัมพันธ์ ในประเทศสหรัฐอเมริกา ulipristal ต้องมีใบสั่งยาและขณะนี้ได้ดำเนินการโดยร้านขายยาต่างๆ ส่วน levonorgestrel สามารถขายได้หน้าเคาน์เตอร์
-มีบางข้อมูลแต่ไม่ใช่ทั้งหมดมีคำแนะนำว่าเกิดการลดประสิทธิภาพของ levonorgestrel ในผู้หญิงอ้วน
-วิธีที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดของการคุมกำเนิดฉุกเฉินคือห่วงทองแดงคุมกำเนิดที่ใส่เข้าไปในมดลูกซึ่งเกือบจะช่วยลดความเสี่ยงของการตั้งครรภ์ที่เกิดจากการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่มีการป้องกันที่ผ่านมาและสามารถนำมาใช้สำหรับการคุมกำเนิดอย่างต่อเนื่องเป็นเวลาอย่างน้อย 10 ปี
-การเริ่มต้นของการคุมกำเนิดด้วยวิธีต่างๆ อย่างต่อเนื่องหลังจากการใช้การคุมกำเนิดฉุกเฉินเป็นสิ่งสำคัญสำหรับการป้องกันการตั้งครรภ์ในระยะยาว
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-The Clinical Problem
-Strategies and Evidence
Oral Emergency Contraceptive Pills
Copper Intrauterine Device
-Areas of Uncertainty
Body Weight and the Efficacy of Oral Emergency Contraceptive Pills
Oral Emergency Contraceptive Pills for Routine Contraception
Promoting the Use of Routine Contraception
-Guidelines
-Conclusions and Recommendations
-Key Clinical Points
-Source Information
อ้างอิงและอ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMcp1406328
N Engl J Med April 2, 2015
Key clinical points
-การคุมกำเนิดแบบฉุกเฉินจะมีข้อบ่งชี้ในการป้องกันการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์หลังจากมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ได้มีการป้องกัน
-ยาคุมกำเนิดฉุกเฉินชนิดรับประทานสองชนิดที่มีอยู่ โดยที่ ulipristal มีรายงานว่ามีประสิทธิภาพมากกว่า levonorgestrel แม้ว่าความแตกต่างมีเพียงไม่มาก ควรใช้ยาทั้งสองโดยเร็วที่สุดเท่าที่เป็นไปได้หลังจากมีเพศสัมพันธ์ แม้จะปรากฏว่ามีสามารถประสิทธิภาพได้อย่างน้อย 4-5 วันหลังจากมีเพศสัมพันธ์ ในประเทศสหรัฐอเมริกา ulipristal ต้องมีใบสั่งยาและขณะนี้ได้ดำเนินการโดยร้านขายยาต่างๆ ส่วน levonorgestrel สามารถขายได้หน้าเคาน์เตอร์
-มีบางข้อมูลแต่ไม่ใช่ทั้งหมดมีคำแนะนำว่าเกิดการลดประสิทธิภาพของ levonorgestrel ในผู้หญิงอ้วน
-วิธีที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดของการคุมกำเนิดฉุกเฉินคือห่วงทองแดงคุมกำเนิดที่ใส่เข้าไปในมดลูกซึ่งเกือบจะช่วยลดความเสี่ยงของการตั้งครรภ์ที่เกิดจากการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่มีการป้องกันที่ผ่านมาและสามารถนำมาใช้สำหรับการคุมกำเนิดอย่างต่อเนื่องเป็นเวลาอย่างน้อย 10 ปี
-การเริ่มต้นของการคุมกำเนิดด้วยวิธีต่างๆ อย่างต่อเนื่องหลังจากการใช้การคุมกำเนิดฉุกเฉินเป็นสิ่งสำคัญสำหรับการป้องกันการตั้งครรภ์ในระยะยาว
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-The Clinical Problem
-Strategies and Evidence
Oral Emergency Contraceptive Pills
Copper Intrauterine Device
-Areas of Uncertainty
Body Weight and the Efficacy of Oral Emergency Contraceptive Pills
Oral Emergency Contraceptive Pills for Routine Contraception
Promoting the Use of Routine Contraception
-Guidelines
-Conclusions and Recommendations
-Key Clinical Points
-Source Information
อ้างอิงและอ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMcp1406328
วันพุธที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2558
3,149 โรคข้ออักเสบสะเก็ดเงิน (psoriatic arthritis)
โดย พญ. กัลยกร เชาว์วิศิษฐ
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-คำจำกัดความ
-ระบาดวิทยา
-สาเหตุและกลไกการเกิดโรค
-อาการและอาการแสดง
-อาการและอาการแสดงนอกข้อ
-ลักษณะทางภาพรังสี
-การรักษา
-การดำเนินโรคและการพยากรณ์โรค
-โรคข้ออักเสบสะเก็ดเงินและการติดเชื้อ HIV
ลิ้งค์ http://www.thairheumatology.org/attchfile/Psoriatic%20Arthritis60.pdf
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-คำจำกัดความ
-ระบาดวิทยา
-สาเหตุและกลไกการเกิดโรค
-อาการและอาการแสดง
-อาการและอาการแสดงนอกข้อ
-ลักษณะทางภาพรังสี
-การรักษา
-การดำเนินโรคและการพยากรณ์โรค
-โรคข้ออักเสบสะเก็ดเงินและการติดเชื้อ HIV
ลิ้งค์ http://www.thairheumatology.org/attchfile/Psoriatic%20Arthritis60.pdf