วันพฤหัสบดีที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2558

3,178 Inflammatory muscle diseases

Review article
N Engl J Med    April 30, 2015

โรคกล้ามเนื้ออักเสบ (inflammatory myopathies) เป็นกลุ่มที่ใหญ่ที่สุดของการเกิดพยาธิสภาพที่กล้ามเนื้อที่สามารถให้การรักษาได้ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีความแตกต่างกันของความผิดปกติที่มีการแบ่งแยกที่ดีที่สุดบนพื้นฐานของคุณสมบัติที่แตกต่างกันทางพยาธิวิทยาคลินิค ได้เป็นสี่ชนิดย่อยได้แก่ dermatomyositis, polymyositis, necrotizing autoimmune myositis, และ inclusion-body myositis (ซึ่งโดยตลอดบทความนี้ จะใช้คำนี้เพื่ออ้างถึง specifically - sporadic inclusion-body myositis)
ส่วนชนิดย่อยที่ห้าเรียกว่า overlap myositis ซึ่งเพิ่งเป็นจุดเริ่มของการยอมรับ การจำแนกชนิดย่อยที่ถูกต้องและการแยกความแตกต่างของสภาวะเหล่านี้จากโรคอื่น ๆ ที่มีลักษณคล้ายคลึงกันถือเป็นพื้นฐานที่สำคัญ เพราะแต่ละชนิดย่อยจะมีการพยากรณ์โรคและการตอบสนองต่อการรักษาที่แตกต่างกัน
ซึ่งในบทความนี้สะท้อนให้เห็นถึงความรู้ในปัจจุบันของสภาวะนี้ ไฮไลท์ถึงวิธีที่ดีที่สุดที่จะหลีกเลี่ยงการวินิจฉัยที่ผิดพลาด, การอธิบายคุณสมบัติหลักทางทางพยาธิวิทยาคลินิคและภูมิคุ้มกันวิทยา และเสนอแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการรักษา
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-General Clinical Features
-Specific Clinical Features
    Dermatomyositis
    Polymyositis
    Necrotizing Autoimmune Myositis
    Inclusion-Body Myositis
-Diagnosis
-Pathologic Mechanisms
    Immunopathology
    Degenerative Component of Inclusion-Body Myositis
-Treatment of Dermatomyositis, Polymyositis, and Necrotizing Autoimmune Myositis
-Treatment of Inclusion-Body Myositis
-Source Information

อ้างอิงและอ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMra1402225

วันพุธที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2558

3,177 จริยธรรมทางการแพทย์ในยุคปัจจุบัน

โดย อ. นพ. นิธิพัฒน์  เจียรกุล 
รองเลขานุการคณะอนุกรรมการฝึกอบรมและสอบ  ราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทย
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-บทนำ
-การทำหน้าที่แทนบุคคลที่สาม
-การรักษาความลับของผู้ป่วย
-เวชระเบียน
-การเปิดเผยข้อมูล
-การขอความยินยอม
-การตรวจทางพันธุกรรม
-ความเสี่ยงทางสุขภาพของตัวแพทย์เองและตัวผู้ป่วย
-การปฏิบัติงานในสถานการณ์จากมหันตภัยธรรมชาติ
-การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
-การออกใบรับรองแพทย์
-การให้บริการบุคคลจำเพาะ
-การเปลี่ยนบทบาทมาเป็นผู้ป่วยหรือญาติผู้ป่วย
-ความสัมพันธ์เชิงชู้สาว
-ขอบเขตความเป็นส่วนตัว
-การรับของสมนาคุณ
-การรักษาที่ไร้ประโยชน์
-การบริจาคอวัยวะเพื่อการปลูกถ่าย
-ผลประโยชน์ทับซ็อนทางธุรกิจ
-ความรับผิดชอบต่อสังคม
-ความมีส่วนร่วมในการใช้จ่ายทรัพยากรสุขภาพให้เหมาะสม
-บทบาทของแพทย์ต่อกิจการของรัฐ
-การแพทย์ไร้พรมแดน
-ปฏิสัมพันธ์ระหว่างแพทย์ด้วยกันเองในหน้าที่
-การปฏิบัติเมื่อตัวแพทย์ป่วย
-การทบทวนเวชปฏิบัติในกลุ่มแพทย์ด้วยท่วงทีกัลยาณมิตร
-การมีส่วนรวมในงานวิจัยทางการแพทย์
-บทส่งทาย

ลิ้งค์ http://www.rcpt.org/index.php/2012-10-03-16-53-39/category/3-2012-10-09-14-46-45.html?download=19%3A2012-11-01-16-33-35

วันอังคารที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2558

3,176 คู่มือนิเทศการดำเนินงานป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก และการให้บริการปรึกษาแบบคู่ เพื่อตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวี

โดยสำนักส่งเสิรมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 
ศูนย์ความร่วมมือไทย-สหรัฐ ด้านสาธารณสุข
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย 
-ข้อแนะนำการใช้คู่มือ
-ความหมายของคำย่อ/อักษรย่อ
-บทที่ 1 บทนำ
-บทที่ 2 แนวทางการนิเทศ
-บทที่ 3 หัวข้อและประเด็นการนิเทศ
-บทที่ 4 การรายงานสรุปผลการนิเทศ
-ภาคผนวก ก


วันจันทร์ที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2558

3,175 หนังสือการทบทวนองค์ความรู้เกี่ยวกับการควบคุมการบริโภคยาสูบ

โดย เนาวรัตน์ เจริญค้า,นิภาพรรณ กังสกุลนิติ,นิทัศน์ ศิริโชติรัตน์,ชวาลา ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม,สถาพร จิรัตนานนท์,Stephen Hamann

สนับสนุนโดยสำนักโรคไม่ติดต่อ กองควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-พฤติกรรมการสูบบุหรี่ในกลุ่มต่างๆ
-โรคภัยที่เกิดจากการสูบบุหรี่
-ภาวะทางเศรษฐกิจ
-ภาคการสื่อสาร
-ภาคส่วนการเมือง



วันอาทิตย์ที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2558

3,174 แนวทางการดูแลผู้ป่วยปลูกถ่ายตับ

แนวทางการดูแลผู้ป่วยปลูกถ่ายตับ
(Thai transplant care (TTC) liver)
โดยสมาคมปลูกถ่ายอวัยวะแห่งประเทศไทย
Thai Transplantation Society
เมษายน 2558



วันเสาร์ที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2558

3,173 แนวทางปฏิบัติในการดูแลรักษาผู้ป่วยติดสุราที่มีภาวะถอนพิษสุราแบบรุนแรงสำหรับทีมสหวิชาชีพ

โดยโรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-แนวทางปฏิบัติในการดูแลรักษาผู้ป่วย ติดสุราที่มีภาวะถอนพิษสุราแบบรุนแรง (Delirium Tremens) สำหรับแพทย์
-แนวทางปฏิบัติในการดูแลรักษาผู้ป่วย ติดสุราที่มีภาวะถอนพิษสุราแบบรุนแรง (Delirium Tremens) สำหรับตึกผู้ป่วยใน
-แนวทางปฏิบัติในการดูแลรักษาผู้ป่วย ติดสุราที่มีภาวะถอนพิษสุราแบบรุนแรง (Delirium Tremens) สำหรับงานโภชนาการ
-แนวทางปฏิบัติในการดูแลรักษาผู้ป่วย ติดสุราที่มีภาวะถอนพิษสุราแบบรุนแรง (Delirium Tremens)สำหรับเภสัชกร
-แนวทางปฏิบัติในการดูแลรักษาผู้ป่วย ติดสุราที่มีภาวะถอนพิษสุราแบบรุนแรง (Delirium Tremens)สำหรับนักจิตวิทยา
-แนวทางปฏิบัติในการดูแลรักษาผู้ป่วย ติดสุราที่มีภาวะถอนพิษสุราแบบรุนแรง (Delirium Tremens)สำหรับนักสังคมสงเคราะห์
-แนวทางปฏิบัติในการดูแลรักษาผู้ป่วย ติดสุราที่มีภาวะถอนพิษสุราแบบรุนแรง (Delirium Tremens)สำหรับบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ
-แนวทางปฏิบัติในการดูแลรักษาผู้ป่วย ติดสุราที่มีภาวะถอนพิษสุราแบบรุนแรง (Delirium Tremens)สำหรับหน่วยจิตสังคมบำบัด
-แนวทางปฏิบัติในการดูแลรักษาผู้ป่วย ติดสุราที่มีภาวะถอนพิษสุราแบบรุนแรง (Delirium Tremens) พยาบาลสุขภาพจิตชุมชน

 ลิ้งค์ http://www.jvkk.go.th/newweb/CPG/algohol_lession4.aspx

วันศุกร์ที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2558

3,172 การบําบัดเพื่อเสริมสร้างแรงจูงใจ (Motivational interview)

โดย นพ.นันทวัช สิทธิรักษ์
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-แนวคิดของการบำบัดเพื่อเสริมสร้างแรงจูงใจ
-หลักการพื้นฐานของการบำบัดเพื่อเสริมสร้างแรงจูงใจ
-ขั้นตอนการบำบัด
-การให้บุคคลสำคัญของผู้ป่วยเข้ามามีส่วนร่วม
-เป้าหมาย
-การติดตามและประเมินผลการบำบัด

ลิ้งค์ http://www.si.mahidol.ac.th/th/department/psychiatrics/admin/download_files/4_4_1.pdf

วันพฤหัสบดีที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2558

3,171 Uterine fibroids

Clinical practice
N Engl J Med April 23, 2015

Key clinical points
-พบได้บ่อยในหญิงวัยเจริญพันธุ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้หญิงผิวดำซึ่งจะมีความชุกมากกว่า และมักจะมีความสัมพันธ์กับอาการที่รุนแรงมากกว่าในคนผิวขาว
-การตัดมดลูก (hysterectomy) เป็นวิธีการรักษาที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดสำหรับเนื้องอกชนิดนี้และลดความเสี่ยงของการก่อตัวใหม่ แต่ก็ไม่ได้เป็นที่ยอมรับของผู้หญิงจำนวนมากและเป็นการรักษาที่ลุกล้ำมากกว่าการรักษาทางเลือก
-ทางเลือกในการเก็บมดลูกไว้พิจารณาจากขนาด, จำนวน, และตำแหน่งของเนื้องอก, อาการ, และช่วงเวลาของการเจริญพันธุ์ในผู้ป่วย
-ในผู้หญิงส่วนใหญ่ที่เป็นผู้เนื้องอกชนิด submucosal จะพบว่าเป็นสาเหตุของการเกิดเลือดออก, การส่องกล้องเพื่อตัดเฉพาะก้อนเนื้องอก (myomectomy) เป็นการรักษาลำดับแรกและผู้ป่วยพื้นตัวได้รวดเร็ว
รวมถึงเพื่อการตั้งครรภ์ในอนาคต
-ในผู้ที่มีประจำเดือนออกมากที่ไม่ได้มีเนื้องอกชนิด submucosal การรักษาทางการแพทย์ที่มีประสิทธิภาพได้แก่ฮอร์โมนคุมกำเนิด (รวมถึงห่วงคุมกำเนิดที่มีฮอร์โมนโปรเจสตินเป็นองค์ประกอบ ),
tranexamic, และ NSAID
-ในผู้หญิงที่มีอาการที่สัมพันธ์กับเนื้องอก  การรักษาทางเลือกของการตัดมดลูกได้แก่การตัดเฉพาะก้อนเนื้องอก, การอุดหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงก้อนเนื้อ (uterine-artery), การใช้อัลตราซาวนด์ช่วยในการผ่าตัดเฉพาะตำแหน่งนั้น, และการผ่าตัดด้วยคลื่นความถี่วิทยุ
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-The Clinical Problem
-Strategies and Evidence
   Diagnosis
   Treatment
-Areas of Uncertainty
-Guidelines
-Conclusions and Recommendations
-Source Information

อ้างอิงและอ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMcp1411029

วันพุธที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2558

3,170 แนวทางการบำบัดรักษาการติดสารเสพติดกลุ่มโอปิออยด์ด้วยเมทาโดนระยะยาว

แนวทางการบำบัดรักษาการติดสารเสพติดกลุ่มโอปิออยด์ด้วยเมทาโดนระยะยาว
(Guidelines for Methadone Maintenance Treatment of Opioids Dependence)
โดยศูนย์วิชาการด้านยาเสพติด 
สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด

การบำบัดรักษาการเสพติดกลุ่มโอปิออยด์ด้วยเมทาโดนระยะยาวเป็นรูปแบบการบำบัดรักษาที่เป็นสากล มีประสิทธิภาพ ปลอดภัยและคุ้มค่าทั้งผู้ให้บริการและรับบริการ
สามารถลดจำนวนผู้ที่จะเบี่ยงเบนไปใช้ยาเสพติดที่ผิดกฎหมาย ถือเป็นสาระสำคัญของการลดอันตรายจากการใช้ยา ทำให้ผู้ป่วยมีความมั่นคงในชีวิต
ไม่ต้องหลบซ่อนผู้รักษากฎหมาย และผู้คนรอบด้าน สามารถมีชีวิตความเป็นอยู่และทำหน้าที่ในสังคมได้อย่างปกติสุข ลดจำนวนครั้งของการรอ/รักษาให้เลิกยาเสพติด
ลดปัญหาสุขภาพและค่าใช้จ่ายที่ต้องใช้ในกระบวนการยุติธรรม ลดความเสี่ยงในการรับและแพร่เชื้อเอชไอวีและไวรัสอื่นๆที่ติดต่อทางเลือด



วันอังคารที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2558

3,169 โรคลิชมาเนียซีส (Leishmaniasis)

โดยสำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-สาเหตุ
-การก่อโรค
-ระบาดวิทยา
-แมลงนำโรค
-การติดต่อ
-อาการและอาการแสดง
-การวินิจฉัยและการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ
-การป้องกันโรค
-การเฝ้าระวังโรคในพื้นที่
-การควบคุมโรค

ลิ้งค์  http://www.thaivbd.org/uploads/upload/Documents/I020.pdf 

วันจันทร์ที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2558

3,168 รูปภาพเชื้อมาลาเรียที่พบในคน (human plasmodium)

โดยคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล
เป็นโปสเตอร์รูปภาพซึ่งประกอบไปด้วยการย้อมฟิล์มเลือดบาง และการย้อมฟิล์มเลือดหนาในระยะต่างๆ ของ
-Plasmodium falciparum
-Plasmodium vivax
-Plasmodium malariae
-Plasmodium ovale


ลิ้งค์ดาวน์โหลด http://www.tm.mahidol.ac.th/eng/download/Poster-Human-Plasmodiam.rar

วันอาทิตย์ที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2558

3,167 คู่มือแนวทางสำหรับการให้รหัสโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม

โดยกลุ่มศูนย์การแพทย์เฉพาะทางอาชีวเวชศาสตร์. และเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม. โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี
จัดทำโดยนายแพทย จรัส โชคสุวรรณกิจ
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-บทนำ
-ความสำคัญ และความเป็นมา
-การจำแนก และ การแจ้งหรือรายงานโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพ
-แนวทางการให้รหัสโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
-ภาคผนวก

ลิ้งค์ http://www.pungooy.com/mrsubon/news/01.pdf

วันเสาร์ที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2558

3,166 ระบบเฝ้าระวัง 5 กลุ่มโรค 5 มิติ

โดยสำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 



เนื้อหาโดยละเอียดประกอบไปด้วย
บทที่ 1 ภาพรวมระบบเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
บทที่ 2 ระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อ
บทที่ 3 ระบบเฝ้าระวังโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
บทที่ 4 ระบบเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อ
บทที่ 5ระบบเฝ้าระวังการบาดเจ็บ
บทที่ 6 ระบบเฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
ภาคผนวก

ลิ้งค์ http://www.boe.moph.go.th/files/report/20150115_39396691.pdf

วันศุกร์ที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2558

3,165 ว่าด้วยเรื่อง osmolality gap

Osmolality gap เป็นตัวบ่งบอกถึงตัวละลายที่ไม่สามารถวัดได้ในเลือด คือนอกเหนือไปจาก sodium, glucose, และ urea ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการค้นหาภาวะ metabolic acidosis ในผู้ป่วย
สูตร = osmolality จากการตรวจในเลือด  - osmolality ที่ได้จากการคำนวน
(การคำนวน osmolality =  (2  x  serum [Na])  +  [glucose, in mg/dL]/18  + [blood urea nitrogen, in mg/dL]/2.8)
-พบว่า 97%  ของผู้ป่วยมี osmolality gap อยู่ในช่วง +10 ถึง -10
-osmolality gap ที่มากกว่า 15 ถือว่าเป็นจุดตัดหริจุดวิกฤติ
-สภาวะที่มี pH ในเลือดต่ำ และมีการเพิ่มของ anion gap และมี osmolality gap สูง เป็นภาวะที่ต้องรีบให้การรักษาอย่างเร่งด่วน
-สาเหตุที่เป็นไปได้ ได้แก่ ETOH, Ethylene glycol, Methyl alcohol, Isopropyl alcohol, Diabetes ketoacidosis, Advanced chronic kidney disease

Ref: https://www.healthcare.uiowa.edu/path_handbook/Appendix/Calculators/OsmoGap.html
http://www.uptodate.com/contents/serum-osmolal-gap

วันพฤหัสบดีที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2558

3,164 Clostridium difficile Infection

Review article
N Engl J Med   April 16, 2015

เป็นเชื้อแกรมบวกรูปแท่งที่ไม่ใช้ออกซิเจน, สร้างสปอร์, สามารถสร้างสารพิษที่ติดต่อในมนุษย์ด้วยกันผ่านทางการรับประทานอาหารที่ปนเปื้อนอุจจาระ (fecal–oral route)
ความสัมพันธ์ระหว่างบาซิลลัสและมนุษย์นี้ครั้งหนึ่งเคยคิดว่าจะเป็นการอาศัยอยู่ร่วมกันโดยไม่ทำอันตรายแก่กัน แต่พบว่า C. difficile ได้กลายเป็นเชื้อโรคในลำไส้ที่สำคัญโดยทั่วโลก ในประเทศสหรัฐอเมริกา, C. difficile มีรายงานมากที่สุดของเชื้อในโรงพยาบาล การศึกษาการเฝ้าระวังในปี 2011 ระบุว่า การติดเชื้อ C. difficile จำนวน 453,000 คนและ 29,000 เสียชีวิตมีความเกี่ยวข้องกับการติดเชื้อ C. difficile; ประมาณหนึ่งในสี่ของการติดเชื้อเหล่านั้นได้มาจากชุมชน (community-acquired)
ในโรงพยาบาลการติดเชื้อ C. difficile ทำให้ค่าใช้จ่ายในโรงพยาบาลเพิ่มขึ้นสี่เท่า เพิ่มค่าใช้จ่ายประจำปีประมาณ  1,500,000,000 เหรียญในสหรัฐอเมริกา
ซึ่งในบทความนี้จะตรวจสอบระบาดวิทยาที่เปลี่ยนแปลงไปของการติดเชื้อนี้ การปรึษาหารือเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยงและกลยุทธ์การป้องกัน, ร่างคำแนะนำในปัจจุบันของการรักษา และเน้นการพัฒนากลยุทธ์สำหรับการควบคุมโรค
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-Pathogenesis and Epidemiology
-Risk Factors
-Diagnosis
-Prevention
-Treatment of Acute Infection
-Treatment of Recurrent Infection
-mmunization
-Summary
-Source Information

อ้างอิงและอ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMra1403772

วันพุธที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2558

3,163 ภาวะกล้ามเนื้อหูรูดหลอดอาหารส่วนบนผิดปกติ

ภาวะกล้ามเนื้อหูรูดหลอดอาหารส่วนบนผิดปกติ
(Upper esophageal sphincter dysfunction)
โดยพญ. ภัทรา วัฒนพันธุ์, พ.บ., ว.ว. เวชศาสตรฟื้นฟู
สำนักวิชาแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
เวชศาสตรฟื้นฟูสาร 2557; 24(3): 73-75 
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-กายวิภาคหูรูดหลอดอาหารส่วนบน
-อาการและอาการแสดง
-การตรวจประเมิน
-แนวทางการรักษา
-สรุป
-เอกสารอ้างอิง

ลิ้งค์ http://rehabmed.or.th/main/wp-content/uploads/2015/01/L-376.pdf

วันอังคารที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2558

3,162 การดูแลผู้ป่วยกลุ่มอาการปวดเรื้อรังระบบกระดูกและกล้ามเนื้อด้วยการแพทย์ผสมผสาน

โดย กลุ่มงานพัฒนาวิชาการ สำนักการแพทย์ทางเลือก 
กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 
กระทรวงสาธารณสุข


เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
บทที่ 1   เรื่องน่ารู้ของอาการปวดเรื้อรัง
บทที่ 2 การดูแลผู้ป่วยอาการปวดเรื้อรังด้วยการแพทย์ผสมผสาน
บทที่ 3 ตัวอย่างการดำเนินงานสถานบริการต้นแบบ
ภาคผนวก

ลิ้งค์ http://www.thaicam.go.th/index.php?option=com_attachments&task=download&id=949


วันจันทร์ที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2558

3,161 เห็ดพิษที่สำคัญในประเทศไทย

เป็นสรุปข้อมูลและรูปภาพเห็ดพิษที่สำคัญในประเทศไทย
จัดทำโดย สมาคมนักวิจัยและเพาะเห็ดแห่งปรเทศไทย


 ลิ้งค์ คลิก

วันอาทิตย์ที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2558

3,160 รายงานการสำรวจการบริโภคอาหารของประชาชนไทย

การสำรวจสุขภาพประชาชนไทย โดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 4 พ.ศ. 2551-2552
รายงานการสำรวจการบริโภคอาหารของประชาชนไทย
สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ 
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และกระทรวงสาธารณสุข 
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบไปด้วย
-บทที่ 1 ความเป็นมาและวัตถุประสงค์
-บทที่ 2 ระเบียบวิธีการสำรวจ
-บทที่ 3 ผลการสำรวจความถในการบรโภคอาหาร
-บทที่ 4 ผลการสำรวจอาหารบริโภคโดยการสัมภาษณ์อาหารบริโภคทบทวนความจำย้อนหลัง
24 ชั่วโมง


ลิ้งค์ http://www.hisro.or.th/main/download/NHES4_NUTRITION.pdf

วันเสาร์ที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2558

3,159 แนวทางเวชปฏิบัติการวินิจฉัยภาวะต่อมน้ำเหลืองที่คอโต

โดยสำนักพัฒนาวิชาการแพทย์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
แม้ว่าจะพิมพ์เผยแพร่ตั้งแต่ปี 2547 แต่เนื้อหายังสามารถนำมาใช้ในการดูแลรักษาผู้ป่วยได้เป็นอย่างดี
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย 
-วัตถุประสงค์
-กลุ่มเป้าหมาย
-เกณฑ์การวินิจฉัยภาวะต่อมน้ำเหลืองที่คอโต
-การซักประวัติ
-การตรวจร่างกาย
-ภาพแสดงตำแหน่งของต่อมน้ำเหลืองและอวัยวะที่ drain น้ำเหลืองบริเวณคอ
-แผนภูมิแสดงแนวทางการวินิจฉัยภาวะต่อมน้ำเหลืองที่คอโต
-ภาคผนวก ก
-ภาคผนวก ข
-References

ลิงค์ http://www.rcot.org/pdf/CPG-Cervical%20Lymphadenopathy.pdf

วันศุกร์ที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2558

3,158 แนวทางการรักษาผู้ป่วย bipolar disorder

โดยชวนันท์ ชาญศิลป์ พ.บ.
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-บทนำ
-การดำเนินการ (Developmental process)
-นิยาม
-หลักการรักษา
-การรักษา bipolar I disorder
  1. ระยะเฉียบพลัน (Acute phase)
  2. ระยะต่อเนื่อง (maintenance phase)
-กรณี rapid cycling
-สรุป
-เอกสารอ้างอิง

ลิ้งค์ http://www.psychiatry.or.th/JOURNAL/464/Practice%20Guideline.htm

วันพฤหัสบดีที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2558

3,157 Cancers complicating inflammatory bowel disease

Review article
N Engl J Med   April 9, 2015

Crohn’s disease และ ulcerative colitis เป็นโรคของการอักเสบลำไส้ (inflammatory bowel diseases) ที่มีไปตลอดชีวิตซึ่งยังไม่ทราบสาเหตุที่ชัดเจนโดยมักจะเริ่มต้นในวัยหนุ่มสาว ประมาณการว่าอย่างน้อย 0.4% ของชาวยุโรปและอเมริกาเหนือเป็นโรคนี้ อายุไขเฉลี่ยจะลดลงในผู้ป่วยเป็น Crohn’s disease และในผู้ป่วย ulcerative colitis ที่ได้รับการวินิจฉัยเมื่อเป็นมากแล้วหรือที่ได้รับการวินิจฉัยในวัยเด็ก พบว่ามีผู้เสียชีวิตจำนวนมากจากการติดเชื้อ, โรคหัวใจและหลอดเลือด, และโรคมะเร็งในผู้ป่วยที่มีโรคลำไส้อักเสบ
ความแตกต่างในความเสี่ยงของโรคมะเร็งระหว่างผู้ป่วยที่มีโรคลำไส้อักเสบและประชาชนทั่วไปอาจจะเป็นผลมาจากความแตกต่างในการกระจายของปัจจัยการดำเนินชีวิต ยกตัวอย่าง เช่นการสูบบุหรี่จะพบได้มากในผู้ป่วยที่มีเป็น Crohn’s disease และการสูบบุหรี่ที่พบได้มากนี้จะสัมพันธ์กับการเกิดโรคมะเร็งในประชากรทั้งหมดที่เป็น Crohn’s disease ในทางตรงกันข้ามในผู้ที่ไม่สูบบุหรี่จะพบได้มากกว่าในกลุ่มผู้ป่วยที่เป็น ulcerative colitis จึงมีอัตราการลดลงของการเกิดโรคมะเร็งดังกล่าวในจำนวนประชากรทั้งหมดที่เป็น ulcerative colitis
บทความนี้จะมุ่งเน้นไปที่ ลักษณะทางระบาดวิทยา, การเกิดมะเร็ง, และการป้องกันโรคมะเร็งที่น่าจะมาจากการอักเสบเรื้อรังในลำไส้หรือการเกิดมะเร็งจากยากดภูมิคุ้มกันที่ใช้ในการรักษาโรคลำไส้อักเสบ
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-Cancers Complicating Intestinal Inflammation
   Colorectal Cancer
   Small-Bowel Adenocarcinoma
   Intestinal Lymphomas
   Anal Cancers
   Cholangiocarcinoma
-Other Cancers Related to Inflammatory Bowel Disease
   Hematologic Cancers
   Skin Cancers
   HPV-Related Cervical Cancer
   Urinary-Tract Cancers
   Overall Risk and Prevention of Cancers Related to Drugs for Inflammatory Bowel Disease
-Conclusions
-Source Information

อ้างอิงและอ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMra1403718

วันพุธที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2558

3,156 แนวทางการดําเนินงานเมื่อพบผู้ป่วยสงสัยโรคคอตีบและการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบไปด้วย
-แนวทางการดำเนินการสอบสวนและควบคุมโรคเบื้องต้นเมื่อสงสัยโรคคอตีบ
-แนวทางการดำเนินการสอบสวนและควบคุมโรคเบื้องต้น เมื่อพบผู้ป่วยเข้าข่ายหรือผู้ป่วยยืนยันโรคคอตีบ
-การให้วัคซีนเพื่อป้องกันควบคุมโรคเมื่อพบผู้ป่วยสงสัยโรคคอตีบ
-การให้วัคซีนเมื่อพบผู้ป่วยเข้าข่ายหรือยืนยันโรคคอตีบ
-หน่วยงานที่ให้การสนับสนุน Diphtheria antitoxin (DAT)
-รายละเอียดการดำเนินงานสอบสวนและควบคุมโรคเบื้องต้น
-นิยามผู้ป่วย และนิยามอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับโรคคอตีบ พ.ศ. 2556
-แบบสอบสวนโรคผู้ป่วยสงสัย และผู้ป่วยคอตีบ (แบบคอตีบ 1)
-แบบรายงานค้นหาผู้สัมผัสใก้ลชิด (แบบคอตีบ 2)
-แบบติดตามอาการ และการกินยาปฏิชีวนะ (แบบคอตีบ 3)
-ทะเบียนแบบรายงานการตรวจ Throat swab หาเชื้อ Corynebacterium diphtheria (แบบคอตีบ 4)

ลิ้งค์ http://www.boe.moph.go.th/getFile.php?fid=358

วันอังคารที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2558

3,155 เกณฑ์การการประเมินการสูญเสียสมรรถภาพของร่างกายเนื่องจากโรคของเม็ดเลือดขาว

เพื่อเป็นการตรวจประเมินและทำนายความผิดปกติของภูมคุ้มกันของทั้งร่างกายต่อการติดเชื้อ การเกิดมะเร็งบางชนิด และความเสี่ยงชองการติดเชื้อชนิดฉวยโอกาส
ระดับที่ 1                
สูญเสียฯ ร้อยละ 0-15 ของทั้งร่างกาย โดยมีอาการ หรืออาการแสดง แต่ไม่ต้องการการรักษา และผู้ป่วยยังสามารถทำกิจวัตรประจำวันได้ตามปกติ
ระดับที่ 2          
สูญเสียฯ ร้อยละ 16-30 ของทั้งร่างกาย  มีอาการ หรืออาการแสดง และไม่ต้องการการรักษาอย่างต่อเนื่อง แต่ยังสามารถทำกิจวัตรประจำวันได้ตามปกติ
ระดับที่ 3          
สูญเสียฯ ร้อยละ 31-55 ของทั้งร่างกาย  มีอาการ หรืออาการแสดง และไม่ต้องการการรักษาอย่างต่อเนื่อง และมีการรบกวนการทำกิจวัตรประจำวัน จนต้องการความช่วยเหลือจากบุคคลอื่น
ระดับที่  4          
สูญเสียฯ ร้อยละ 56-100 ของทั้งร่างกาย  มีอาการ หรืออาการแสดง และต้องการการรักษาอย่างต่อเนื่อง มีความยากลำบากในการทำกิจวัตรประจำวัน จำเป็นต้องได้รับความช่วยเหลือจากบุคคลอื่นอย่างต่อเนื่อง

อ้างอิง http://www.sso.go.th/sites/default/files/WYSIWYG%20Web%20Builder/sso.html/Chapter_16_645.html

วันจันทร์ที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2558

3,154 ปริมาณโซเดียมในอาหารต่อหนึ่งหน่วยบริโภค

เป็นแผ่นพับที่บอกปริมาณโซเดียมในอาหารต่อหนึ่งหน่วยบริโภค ในอาหารสำเร็จรูปที่เรารับประทานกันบ่อยๆ จะเป็นประโยชน์ในการเลือกรับประทานอาหารและรู้ปริมาณเกลือที่รับประทานโดยเฉพาะผู้ป่วยที่ต้องการกำจัดเกลือ


ลิ้งค์ดาวน์โหลด คลิก

วันอาทิตย์ที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2558

3,153 แนวทางการดูแลรักษา Exfoliative dermatitis

โดยสถาบันโรคผิวหนัง
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-คำนำ
-นิยาม
-สาเหตุ
-การวินิจฉัย
  ลักษณะทางคลินิก
  การวินิจฉัยทางห้องปฏิบัตการ
-การรักษามาตรฐาน
-อ้างอิง

ลิ้งค์ http://www.dms.moph.go.th/dmsweb/cpgcorner/exfodermatitis.pdf

วันเสาร์ที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2558

3,152 โปรแกรมนี้ทำขึ้นเพื่อใช้ประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด (Thai CV risk score)

โดยศูนย์หัวใจ หลอดเลือด และเมแทบอลิซึม โรงพยาบาลรามาธิบดี
โปรแกรมนี้ทำขึ้นเพื่อใช้ประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด โดยแสดงผลการประเมินเป็นความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตหรือเจ็บป่วยจากโรคเส้น เลือดหัวใจตีบตัน และโรคเส้นเลือดสมองตีบตันในระยะเวลา 10 ปีข้างหน้า ซึ่งสามารถใช้ได้ทั้งในกรณีที่ท่านไม่มีผลเลือดโดยให้ใช้ขนาดรอบเอวหรือขนาด รอบเอวหารด้วยส่วนสูงแทน และในกรณีที่มีผลการตรวจระดับไขมันในเลือด แบบประเมินนี้สร้างขึ้นจากการติดตามศึกษาหาปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจ และหลอดเลือดในประชากรไทยภายใต้โครงการศึกษาพนักงานการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย เป็นระยะเวลายาวนานกว่า 20 ปี แบบประเมินความเสี่ยงนี้จึงควรใช้เฉพาะในคนไทยที่มีอายุ  35-70 ปี ยังไม่มีโรคหัวใจและหลอดเลือด หากท่านมีข้อสงสัยหรือไม่แน่ใจแนะนำให้เข้ารับการประเมินโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ



ลิ้งค์ http://cvmc.host-ed.me/tcvrs/tcvrs/ramaegat.html

วันศุกร์ที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2558

3,151 Molecular physiology of water balance

Review article
Disorders of fluids and electrolytes
 N Engl J Med  April 2, 2015

hypothalamic–neurohypophyseal–renal axis ตามปกติจะช่วยรักษาสมดุลของน้ำจากการความหลากหลายของบริโภคน้ำและการสูญเสียน้ำที่ไม่ใด้ผ่านทางไต ความล้มเหลวของกลไกนี้เป็นเรื่องปกติในผู้ป่วยที่เข้ารับรักษาในโรงพยาบาลและส่งผลให้เกิดความผิดปกติของสมดุลน้ำที่มีความหลากหลาย ซึ่งในบทความนี้เราจะเริ่มต้นด้วยการตรวจสอบสิ่งที่เป็นพื้นฐาน, หลักการแบบบูรณาการของความสมดุลของน้ำในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมและจากนั้นใช้สิ่งที่เป็นพื้นฐานนี้เป็นกรอบเพื่อปรึกษาหารือเกี่ยวกับยีนและผลิตภัณฑ์ยีน (โปรตีน) ที่มีส่วนร่วมในความสมดุลของน้ำ ดังนั้นเป้าหมายของเราคือการช่วยให้แพทย์และกลไกพื้นฐานในการตัดสินใจเกี่ยวกับการวินิจฉัยและการรักษาความผิดปกติของน้ำสมดุล
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-Arginine Vasopressin
-Vasopressin Receptors
-Bumetanide-Sensitive Sodium–Potassium–Chloride Cotransporter
-Thiazide-Sensitive Sodium–Chloride Cotransporter
-Aquaporins
-Vasopressin-Regulated Urea Channel
-Epithelial Sodium Channel
-Conclusions
-Source Information

อ้างอิงและอ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMra1404726

วันพฤหัสบดีที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2558

3,150 Emergency contraception

Clinical practice
N Engl J Med    April 2, 2015

Key clinical points
-การคุมกำเนิดแบบฉุกเฉินจะมีข้อบ่งชี้ในการป้องกันการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์หลังจากมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ได้มีการป้องกัน
-ยาคุมกำเนิดฉุกเฉินชนิดรับประทานสองชนิดที่มีอยู่ โดยที่ ulipristal มีรายงานว่ามีประสิทธิภาพมากกว่า levonorgestrel แม้ว่าความแตกต่างมีเพียงไม่มาก ควรใช้ยาทั้งสองโดยเร็วที่สุดเท่าที่เป็นไปได้หลังจากมีเพศสัมพันธ์ แม้จะปรากฏว่ามีสามารถประสิทธิภาพได้อย่างน้อย 4-5 วันหลังจากมีเพศสัมพันธ์ ในประเทศสหรัฐอเมริกา ulipristal ต้องมีใบสั่งยาและขณะนี้ได้ดำเนินการโดยร้านขายยาต่างๆ ส่วน levonorgestrel สามารถขายได้หน้าเคาน์เตอร์
-มีบางข้อมูลแต่ไม่ใช่ทั้งหมดมีคำแนะนำว่าเกิดการลดประสิทธิภาพของ levonorgestrel ในผู้หญิงอ้วน
-วิธีที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดของการคุมกำเนิดฉุกเฉินคือห่วงทองแดงคุมกำเนิดที่ใส่เข้าไปในมดลูกซึ่งเกือบจะช่วยลดความเสี่ยงของการตั้งครรภ์ที่เกิดจากการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่มีการป้องกันที่ผ่านมาและสามารถนำมาใช้สำหรับการคุมกำเนิดอย่างต่อเนื่องเป็นเวลาอย่างน้อย 10 ปี
-การเริ่มต้นของการคุมกำเนิดด้วยวิธีต่างๆ อย่างต่อเนื่องหลังจากการใช้การคุมกำเนิดฉุกเฉินเป็นสิ่งสำคัญสำหรับการป้องกันการตั้งครรภ์ในระยะยาว

เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-The Clinical Problem
-Strategies and Evidence
   Oral Emergency Contraceptive Pills
   Copper Intrauterine Device
-Areas of Uncertainty
   Body Weight and the Efficacy of Oral Emergency Contraceptive Pills
   Oral Emergency Contraceptive Pills for Routine Contraception
   Promoting the Use of Routine Contraception
-Guidelines
-Conclusions and Recommendations
-Key Clinical Points
-Source Information

อ้างอิงและอ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMcp1406328

วันพุธที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2558

3,149 โรคข้ออักเสบสะเก็ดเงิน (psoriatic arthritis)

โดย พญ. กัลยกร เชาว์วิศิษฐ
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-คำจำกัดความ
-ระบาดวิทยา
-สาเหตุและกลไกการเกิดโรค
-อาการและอาการแสดง
-อาการและอาการแสดงนอกข้อ
-ลักษณะทางภาพรังสี
-การรักษา
-การดำเนินโรคและการพยากรณ์โรค
-โรคข้ออักเสบสะเก็ดเงินและการติดเชื้อ HIV

ลิ้งค์ http://www.thairheumatology.org/attchfile/Psoriatic%20Arthritis60.pdf