โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ วัลยา จงเจริญประเสริฐ
หน่วยต่อมไร้ทอและเมแทบบอลิสม
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบไปด้วย
-Hyperthyroidism (ภาวะไทรอยด์เป็นพิษ)
-โรค Graves’ disease
-โรค Toxic multinodular goiter
-โรค Toxic adenoma
-โรคไทรอยดอกเสบ Subacute painful thyroiditis
ลิ้งค์ คลิก
เพื่อการเรียนรู้ medicine และสุขภาพที่ดีของประชาชน (community hospital) * เดิมคือ Phimaimedicine.blogspot.com * ตอนนี้มาปฏิบัติงานอยู่ที่ รพ. ขนอม นครศรีธรรมราชครับ
หน้าเว็บ
▼
วันอังคารที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2558
วันจันทร์ที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2558
3,147 โรคลิ่มเลือดอุดกั้นในหลอดเลือดปอดเฉียบพลัน (acute pulmonary embolism)
โดยนายแพทย์บูรพา ปุสธรรม
สาขาวิชาหัวใจและหลอดเลือด หน่วยงาน อายุรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-บทนำ
-Epidemiology
-Natural history
-Risk factors
-Pathophysiology
-Severity of acute PE
-Diagnosis
-Treatment
ลิงค์ http://www.smj.ejnal.com/e-journal/showdetail/?show_detail=T&art_id=1902
สาขาวิชาหัวใจและหลอดเลือด หน่วยงาน อายุรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-บทนำ
-Epidemiology
-Natural history
-Risk factors
-Pathophysiology
-Severity of acute PE
-Diagnosis
-Treatment
ลิงค์ http://www.smj.ejnal.com/e-journal/showdetail/?show_detail=T&art_id=1902
วันอาทิตย์ที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2558
3,146 ปัญหาด้านพฤตกรรมอารมณ์และจิตใจ ในผู้ปวยสมองเสื่อม : แนวคิด และการรักษา
ปัญหาด้านพฤตกรรมอารมณ์และจิตใจ ในผู้ปวยสมองเสื่อม (behavioral and psychological symptoms in dementia, BPSD): แนวคิด และการรักษา
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-บทนำ
-ความเป็นมาของ BPSD
-ความสำคัญของ BPSD
-ความชุกของ BPSD
-การดำเนินโรคของ BPSD
-การจำแนกกลุ่มอาการ BPSD
-หลักการประเมินอาการ BPSD
-แบบประเมินอาการ BPSD
-การรกษาอาการ BPSD
-สรุป
ลิ้งค์ http://www.psychiatry.or.th/JOURNAL/56-4/11-Gobhathai.pdf
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-บทนำ
-ความเป็นมาของ BPSD
-ความสำคัญของ BPSD
-ความชุกของ BPSD
-การดำเนินโรคของ BPSD
-การจำแนกกลุ่มอาการ BPSD
-หลักการประเมินอาการ BPSD
-แบบประเมินอาการ BPSD
-การรกษาอาการ BPSD
-สรุป
ลิ้งค์ http://www.psychiatry.or.th/JOURNAL/56-4/11-Gobhathai.pdf
วันเสาร์ที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2558
3,145 การบำบัดรักษาผู้ติดบุหรี่โดยใช้ยา (Pharmacological Therapy)
จากเว็บไซตืโรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
-ยากลุ่ม First-line
การให้นิโคตินทดแทน (Nicotine Replacement Therapy)
นิโคตินแบบแผ่นแปะ (Nicotine patch)
หมากฝรั่งนิโคติน (Nicotine gum)
นิโคตินแบบสูดทางปาก (Nicotine oral inhaler)
นิโคตินแบบพ่นจมูก (Nicotine nasal spray)
นิโคตินแบบเม็ดอม (Nicotine Lozenges)
นิโคตินแบบอมใต้ลิ้น (Nicotine sublingual tablet)
บูโปรเปียน (Bupropion)
-ยากลุ่ม Second-line
โคลนิดีน (Clonidine)
นอร์ทริพทิดีน (Nortriptyline)
การใช้ยาหลายชนิดร่วมกัน (Combination therapy)
Ref: คลิก
-ยากลุ่ม First-line
การให้นิโคตินทดแทน (Nicotine Replacement Therapy)
นิโคตินแบบแผ่นแปะ (Nicotine patch)
หมากฝรั่งนิโคติน (Nicotine gum)
นิโคตินแบบสูดทางปาก (Nicotine oral inhaler)
นิโคตินแบบพ่นจมูก (Nicotine nasal spray)
นิโคตินแบบเม็ดอม (Nicotine Lozenges)
นิโคตินแบบอมใต้ลิ้น (Nicotine sublingual tablet)
บูโปรเปียน (Bupropion)
-ยากลุ่ม Second-line
โคลนิดีน (Clonidine)
นอร์ทริพทิดีน (Nortriptyline)
การใช้ยาหลายชนิดร่วมกัน (Combination therapy)
Ref: คลิก
วันศุกร์ที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2558
3,144 Common questions about infectious mononucleosis
Am Fam Physician. 2015 Mar 15;91(6):372-376.
Epstein-Barr เป็นไวรัสที่การติดเชื้อแพร่หลายมากถึง 95% ของประชากรโลก ที่เกิดขึ้น ณ. ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งของชีวิตบาง แม้ว่าการติดเชื้อ Epstein-Barr virus (EBV) มักจะไม่มีอาการ แต่ผู้ป่วยบางรายจะมีอาการทางคลินิกของ infectious mononucleosis (IM) กลุ่มอาการนี้พบได้บ่อยที่สุดระหว่างช่วงอายุ 15 และ 24 ปี ซึ่งควรจะสงสัยว่าในผู้ป่วยที่มาด้วยอาการเจ็บคอ, มีไข้, ต่อมทอลซินโต, อ่อนเพลีย, ต่อมน้ำเหลืองอักเสบ, คอหอยอักเสบ, และเพดานปากมีจุดเลือดออก
A heterophile antibody คือการตรวจอันดับแรกที่ดีที่สุดสำหรับการวินิจฉัยการติดเชื้อ EBV โดยความถูกต้อง กับ 70 - 90% สำหรับการวินิจฉัย แต่อย่างไรก็ตามการทดสอบมีอัตราการเกิด false-negative 25% ในสัปดาห์แรกของการเจ็บป่วย โรคนี้มักไม่ค่อยพบว่าเม็ดเลือดขาวน้อยกว่า 4,000 มิลลิเมตร3
การตรวจพบ EBV-specific immunoglobulin M antibodies ช่วยยืนยันการติดเชื้อ แต่เป็นการตรวจที่มีราคาสูงและใช้เวลานานกว่าการตรวจ heterophile antibody
การรักษาเพื่อบรรเทาอาการถือเป็นการรักษาหลักของโรคนี้ กลูโคคอร์ติคอยด์และยาต้านไวรัสไม่ได้ลดระยะเวลาการดำเนินโรคหรือความรุนแรงของการเจ็บป่วย ม้ามแตกเป็นภาวะแทรกซ้อนที่พบไม่บ่อย การออกกำลังกายภายในสามสัปดาห์แรกของการเจ็บป่วยอาจเพิ่มความเสี่ยงของการแตกม้าม, การมีส่วนร่วมแข็งแรงไม่แนะนำให้ใช้ในช่วงเวลานี้ เด็กจะความเสี่ยงสูงสุดของการเกิดภาวะหายใจอุดกั้น ซึ่งเป็นสาเหตุที่พบบ่อยที่สุดของการเข้ารับรักษาในโรงพยาบาล ผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันต่ำมีแนวโน้มที่จะมีการติดเชื้อรุนแรง EBV ที่รุนแรง
Ref: http://www.aafp.org/afp/2015/0315/p372.html
Epstein-Barr เป็นไวรัสที่การติดเชื้อแพร่หลายมากถึง 95% ของประชากรโลก ที่เกิดขึ้น ณ. ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งของชีวิตบาง แม้ว่าการติดเชื้อ Epstein-Barr virus (EBV) มักจะไม่มีอาการ แต่ผู้ป่วยบางรายจะมีอาการทางคลินิกของ infectious mononucleosis (IM) กลุ่มอาการนี้พบได้บ่อยที่สุดระหว่างช่วงอายุ 15 และ 24 ปี ซึ่งควรจะสงสัยว่าในผู้ป่วยที่มาด้วยอาการเจ็บคอ, มีไข้, ต่อมทอลซินโต, อ่อนเพลีย, ต่อมน้ำเหลืองอักเสบ, คอหอยอักเสบ, และเพดานปากมีจุดเลือดออก
A heterophile antibody คือการตรวจอันดับแรกที่ดีที่สุดสำหรับการวินิจฉัยการติดเชื้อ EBV โดยความถูกต้อง กับ 70 - 90% สำหรับการวินิจฉัย แต่อย่างไรก็ตามการทดสอบมีอัตราการเกิด false-negative 25% ในสัปดาห์แรกของการเจ็บป่วย โรคนี้มักไม่ค่อยพบว่าเม็ดเลือดขาวน้อยกว่า 4,000 มิลลิเมตร3
การตรวจพบ EBV-specific immunoglobulin M antibodies ช่วยยืนยันการติดเชื้อ แต่เป็นการตรวจที่มีราคาสูงและใช้เวลานานกว่าการตรวจ heterophile antibody
การรักษาเพื่อบรรเทาอาการถือเป็นการรักษาหลักของโรคนี้ กลูโคคอร์ติคอยด์และยาต้านไวรัสไม่ได้ลดระยะเวลาการดำเนินโรคหรือความรุนแรงของการเจ็บป่วย ม้ามแตกเป็นภาวะแทรกซ้อนที่พบไม่บ่อย การออกกำลังกายภายในสามสัปดาห์แรกของการเจ็บป่วยอาจเพิ่มความเสี่ยงของการแตกม้าม, การมีส่วนร่วมแข็งแรงไม่แนะนำให้ใช้ในช่วงเวลานี้ เด็กจะความเสี่ยงสูงสุดของการเกิดภาวะหายใจอุดกั้น ซึ่งเป็นสาเหตุที่พบบ่อยที่สุดของการเข้ารับรักษาในโรงพยาบาล ผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันต่ำมีแนวโน้มที่จะมีการติดเชื้อรุนแรง EBV ที่รุนแรง
Ref: http://www.aafp.org/afp/2015/0315/p372.html
วันพฤหัสบดีที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2558
3,143 Chikungunya virus and the global spread of a mosquito-borne disease
Review article
N Engl J Med 2015 March 26, 2015
ไวรัส Chikungunya เป็น Alphavirus ที่นำพาโดยยุง ซึ่งชื่อของเชื้อนี้มาจากคำว่า Makonde เป็นคำที่อธิบายลักษณะท่าทางของบุคคลที่มีอาการปวดข้ออย่างรุนแรงซึ่งเป็นจุดเด่นของไข้ Chikungunya ไวรัส Chikungunya ถูกแยกได้ครั้งแรกหลังจากการระบาดของโรคในปี คศ. 1952-1953 ซึ่งในปัจจุบันคือประเทศแทนซาเนีย การระบาดของโรคเกิดภายหลังจากการสามารถแยกเชื้อ ในเอเชียในช่วงปี คศ. 1950 และ 1960 เช่นเดียวกับ Alphaviruses ที่พบในออสเตรเลียและส่วนอื่น ๆ ของ Oceania และเช่นเดียวกับในอเมริกาใต้ ไวรัส Chikungunya ทำให้เกิดอาการไข้เฉียบพลันที่จะมาพร้อมกับสิ่งที่พบได้เสมอคืออาการปวดข้ออย่างรุนแรง
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบไปด้วย
-Chikungunya Virus and Chikungunya Fever
-History and Origins of Chikungunya Virus
-Epidemiologic Characteristics and Spread
-Clinical Signs and Symptoms
-Diagnosis
-Pathophysiological Characteristics
-Control of the Symptoms and Spread of Disease
-The Future of Chikungunya and Research Priorities
Basic Research
Prevention and Control
-Source Information
อ้างอิงและอ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMra1406035
N Engl J Med 2015 March 26, 2015
ไวรัส Chikungunya เป็น Alphavirus ที่นำพาโดยยุง ซึ่งชื่อของเชื้อนี้มาจากคำว่า Makonde เป็นคำที่อธิบายลักษณะท่าทางของบุคคลที่มีอาการปวดข้ออย่างรุนแรงซึ่งเป็นจุดเด่นของไข้ Chikungunya ไวรัส Chikungunya ถูกแยกได้ครั้งแรกหลังจากการระบาดของโรคในปี คศ. 1952-1953 ซึ่งในปัจจุบันคือประเทศแทนซาเนีย การระบาดของโรคเกิดภายหลังจากการสามารถแยกเชื้อ ในเอเชียในช่วงปี คศ. 1950 และ 1960 เช่นเดียวกับ Alphaviruses ที่พบในออสเตรเลียและส่วนอื่น ๆ ของ Oceania และเช่นเดียวกับในอเมริกาใต้ ไวรัส Chikungunya ทำให้เกิดอาการไข้เฉียบพลันที่จะมาพร้อมกับสิ่งที่พบได้เสมอคืออาการปวดข้ออย่างรุนแรง
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบไปด้วย
-Chikungunya Virus and Chikungunya Fever
-History and Origins of Chikungunya Virus
-Epidemiologic Characteristics and Spread
-Clinical Signs and Symptoms
-Diagnosis
-Pathophysiological Characteristics
-Control of the Symptoms and Spread of Disease
-The Future of Chikungunya and Research Priorities
Basic Research
Prevention and Control
-Source Information
อ้างอิงและอ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMra1406035
วันพุธที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2558
3,142 บทความเรื่อง การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
พญ.ชื่นชม ชื่อลือชา. แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู
ธรรมศาสตร์เวชสาร ปีที่ : 12 ฉบับที่ : 1 เลขหน้า : 97-111 ปีพ.ศ. : 2555
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-พยาธิสภาพของโรคหลอดเลือดสมอง
-ผลของโรคหลอดเลือดสมอง
-การฟื้นตัวภายหลังการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง
-การพยากรณ์โรคหลอดเลือดสมอง
-การพยากรณ์การฟื้นตัวของแขน
-การพยากรณ์ความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน
-การพยากรณ์การฟื้นตัวของการเดิน
-การติดตามประเมินผลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
-แบบการประเมินการฟื้นตัวของระบบการสั้งงานกล้ามเนื้อ
-Brunnstrom stages of motor recovery
-การฟื้นตัวของมือ
-การฟื้นตัวของขา
-แบบการประเมินระดับความสามารถ
-การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
การฟื้นฟูในระยะเฉียบพลัน
การฟื้นฟูในระยะหลังเฉียบพลัน
การฟื้นฟูในระยะเข้าสู่สังคม
- สรุป
ธรรมศาสตร์เวชสาร ปีที่ : 12 ฉบับที่ : 1 เลขหน้า : 97-111 ปีพ.ศ. : 2555
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-พยาธิสภาพของโรคหลอดเลือดสมอง
-ผลของโรคหลอดเลือดสมอง
-การฟื้นตัวภายหลังการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง
-การพยากรณ์โรคหลอดเลือดสมอง
-การพยากรณ์การฟื้นตัวของแขน
-การพยากรณ์ความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน
-การพยากรณ์การฟื้นตัวของการเดิน
-การติดตามประเมินผลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
-แบบการประเมินการฟื้นตัวของระบบการสั้งงานกล้ามเนื้อ
-Brunnstrom stages of motor recovery
-การฟื้นตัวของมือ
-การฟื้นตัวของขา
-แบบการประเมินระดับความสามารถ
-การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
การฟื้นฟูในระยะเฉียบพลัน
การฟื้นฟูในระยะหลังเฉียบพลัน
การฟื้นฟูในระยะเข้าสู่สังคม
- สรุป
วันอังคารที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2558
3,141 ข้อมูลที่ควรทราบเรื่องการใช้ยายาปฏิชีวนะในประเทศไทยในช่วงที่ผ่านมา
-มูลค่าการผลิตนำเข้าของยาฆ่าเชื้อ (รวมถึงยาปฏิชีวนะ) สูงเป็นอันดับหนึ่ง ตั้งแต่ปี 2543 เป็นต้นมา ในปี 2550 มูลค่าการผลิตและนำเข้ายากลุ่มนี้สูงถึง 2 หมื่นล้านบาท หรือ ประมาณ 1 ใน 5 ของมูลค่ายาทั้งหมด
-คนในต่างจังหวัดใช้ยาปฏิชีวนะรักษาโรคหวัดคิดเป็นร้อยละ 40-60 และสูงถึงร้อยละ 70-80 ใน กทม.
-โรงพยาบาลที่เป็นโรงเรียนแพทย์ใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่เหมาะสมสูงถึงร้อยละ 25-91
-รายงานอาการไม่พึงประสงค์ ประจำปี 2549 พบว่า จำนวน ADR ที่เกิดจากการใช้ยาฆ่าเชื้อ/ยาปฏิชีวนะ -สูงเป็นอันดับหนึ่งของประเทศ (คิดเป็นร้อยละ 54 ของอาการ ADR ที่เกิดขึ้นของยาทุกชนิดรวมกัน)
-อัตราเชื้อดื้อยาของประเทศไทยเพิ่มสูงถึงร้อยละ 25-50 และพบว่า อัตราการเกิดเชื้อดื้อยามีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการใช้ยาปฏิชีวนะ
Ref: โครงการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล Antibiotics Smart Use
วันจันทร์ที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2558
วันอาทิตย์ที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2558
3,139 ตัวย่อของจักษุวิทยาที่ใช้บ่อยในการตรวจดูแลรักษาผู้ป่วยเบาหวาน
แพทย์หรืบุคลากรทางการแพทย์ที่ต้องให้การดูแลรักษาผู้ป่วยเบาหวาน อาจจะต้องมีการพบเห็นหรือใช้ตัวย่อทางด้านจักษุวิทยา จึงนำมาลงไว้ครับ
DME: Diabetic macular edema
DR: Diabetes retinopathy
FC: finger count, counting finger
HM: hand movement, hand motion
IRMA: Intraretinal microvascular abnormalities
KM: Knowledge management
LE VA: Left eye visual acuity
NPDR: Non-Proliferative DR
NVD: New vessels on the disc
NVE: new vessels elsewhere
PDR: Proliferative DR
PH: Pin hole
RE VA: Right eye visual acuity
Ref: แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
DME: Diabetic macular edema
DR: Diabetes retinopathy
FC: finger count, counting finger
HM: hand movement, hand motion
IRMA: Intraretinal microvascular abnormalities
KM: Knowledge management
LE VA: Left eye visual acuity
NPDR: Non-Proliferative DR
NVD: New vessels on the disc
NVE: new vessels elsewhere
PDR: Proliferative DR
PH: Pin hole
RE VA: Right eye visual acuity
Ref: แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
วันเสาร์ที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2558
3,138 Spot diagnosis: ผู้ป่วยชาย 60 ปี เจ็บหน้าอกซ้ายเฉียบพลันก่อนมา รพ. EKG เป็นดังภาพ
ผู้ป่วยชาย 60 ปี เจ็บหน้าอกซ้ายเฉียบพลันก่อนมา รพ. EKG เป็นดังภาพ จะให้การวินิจฉัยอะไร และเกิดภาวะแทรกซ้อนอะไรครับ?
กดที่ภาพเพื่อขยายขนาด
ขอขอบคุณสำหรับความคิดเห็นและการเรียนรู้ครับ (ตอบได้ดีครับ แต่ทำไมทราบว่ามี V7-V9 ด้วยล่ะครับ)
จาก EKG เข้าได้กับ ST elevation ของ inferior wall และพบมีอัตราการเต้นของหัวใจช้า โดยช้ากว่า 50 /min หลังจากผู้ป่วยได้รับการใส่ external pacemaker และให้การรักษาด้วย streptokinase ต่อมากลับมาอัตราการเต้นของหัวใจปกติ สามารหยุดการใช้ external pacemaker ได้
วันศุกร์ที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2558
3,137 การประเมินภาวะโภชนาการ (nutritional assessment)
โดย พญ.ประณิธิ หงสประภาส
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-ทุโภชนาการ (malnutrition)
-ผลกระทบของทุโภชนาการต่อผู้ป่วย
-วัตถุประสงค์ของการประเมินภาวะโภชนาการ
-วิธีการประเมินภาวะโภชนการ
-สรุป
ลิ้งค์ http://med.md.kku.ac.th/site_data/mykku_med/701000016/resume/Nutritional_assessment.doc
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-ทุโภชนาการ (malnutrition)
-ผลกระทบของทุโภชนาการต่อผู้ป่วย
-วัตถุประสงค์ของการประเมินภาวะโภชนาการ
-วิธีการประเมินภาวะโภชนการ
-สรุป
ลิ้งค์ http://med.md.kku.ac.th/site_data/mykku_med/701000016/resume/Nutritional_assessment.doc
วันพฤหัสบดีที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2558
3,136 Fibrosis — A common pathway to organ injury and failure
Review article
N Engl J Med March 19, 2015
โรคที่เกี่ยวข้องกับการบาดเจ็บของอวัยวะใด ๆ กระตุ้นให้เกิดสิ่งที่ซับซ้อนตามมาในตอบสนองของเซลล์และโมเลกุลจนไปสู่ขั้นสุดท้ายคือการเกิดเนื้อเยื่อพังผืด แม้ว่าการตอบสนองในการก่อให้เกิดผังผืด (fibrogenic response) นี้อาจมีคุณสมบัติการปรับตัวในระยะสั้น แต่เมื่อมันดำเนินมาเป็นระยะเวลานานทำให้เกิดแผล และในท้ายที่สุดทำให้เกิดความผิดปกติของเซลล์และการมีอวัยวะล้มเหลวตามมา ถึงแม้ว่าเราจะเข้าใจหลายกระบวนการเซลล์และโมเลกุลที่เป็นพื้นฐานของการเกิดพังผืด แต่การรักษาที่มีประสิทธิภาพยังมีน้อยและการมุ่งเป้าไปที่การเกิดผังผืดโดยเฉพาะยิ่งมีน้อยไปอีก ข้อเท็จจริงเหล่านี้เน้นให้เห็นความจำเป็นถึงความเข้าใจที่ลึกซึ้งของการเกิดโรคจากขบวนการสร้างผังผืด และการนำความรู้นี้ไปสู่การรักษาที่ไม่เคยมีมาก่อน
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-Cellular and Molecular Themes in Pathogenesis
-Mechanisms and Adverse Clinical Effects
Cardiac Fibrosis
Hepatic Fibrosis
Renal Fibrosis
Pulmonary Fibrosis
Other Forms of Fibrosis
-Therapy
Heart
Kidney
Liver
Lung
-Future Directions
-Source Information
อ้างอิงและอ่นต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMra1300575
N Engl J Med March 19, 2015
โรคที่เกี่ยวข้องกับการบาดเจ็บของอวัยวะใด ๆ กระตุ้นให้เกิดสิ่งที่ซับซ้อนตามมาในตอบสนองของเซลล์และโมเลกุลจนไปสู่ขั้นสุดท้ายคือการเกิดเนื้อเยื่อพังผืด แม้ว่าการตอบสนองในการก่อให้เกิดผังผืด (fibrogenic response) นี้อาจมีคุณสมบัติการปรับตัวในระยะสั้น แต่เมื่อมันดำเนินมาเป็นระยะเวลานานทำให้เกิดแผล และในท้ายที่สุดทำให้เกิดความผิดปกติของเซลล์และการมีอวัยวะล้มเหลวตามมา ถึงแม้ว่าเราจะเข้าใจหลายกระบวนการเซลล์และโมเลกุลที่เป็นพื้นฐานของการเกิดพังผืด แต่การรักษาที่มีประสิทธิภาพยังมีน้อยและการมุ่งเป้าไปที่การเกิดผังผืดโดยเฉพาะยิ่งมีน้อยไปอีก ข้อเท็จจริงเหล่านี้เน้นให้เห็นความจำเป็นถึงความเข้าใจที่ลึกซึ้งของการเกิดโรคจากขบวนการสร้างผังผืด และการนำความรู้นี้ไปสู่การรักษาที่ไม่เคยมีมาก่อน
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-Cellular and Molecular Themes in Pathogenesis
-Mechanisms and Adverse Clinical Effects
Cardiac Fibrosis
Hepatic Fibrosis
Renal Fibrosis
Pulmonary Fibrosis
Other Forms of Fibrosis
-Therapy
Heart
Kidney
Liver
Lung
-Future Directions
-Source Information
อ้างอิงและอ่นต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMra1300575
วันพุธที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2558
3,135 การแบ่งข้อใหญ่-ข้อเล็ก ในสาขาวิชาโรคข้อ (rheumatology)
ข้อขนาดใหญ่ ได้แก่
-ข้อไหล่ (shoulder)
-ข้อศอก (elbow)
-ข้อสะโพก (hip)
-ข้อเข่า (knee)
-ข้อเท้า (ankle)
ข้อขนาดเล็ก ได้แก่
-ข้อโคนนิ้วมือ (metacarpophalangeal joints)
-ข้อนิ้วมือส่วนต้น (proximal interphalangeal joints) ของนิ้วชี้ถึงนิ้วก้อย
-ข้อนิ้วโป้ง (thumb interphalangeal joints) ยกเว้นข้อโคนนิ้วโป้ง (carpometacarpal joint)
-ข้อโคนนิ้วเท้า (metatarsophalangeal joints) ยกเว้นนิ้วหัวแม่เท้า (1st metatarsophalangeal joint)
-ข้อมือ (wrists)
Ref: แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
-ข้อไหล่ (shoulder)
-ข้อศอก (elbow)
-ข้อสะโพก (hip)
-ข้อเข่า (knee)
-ข้อเท้า (ankle)
ข้อขนาดเล็ก ได้แก่
-ข้อโคนนิ้วมือ (metacarpophalangeal joints)
-ข้อนิ้วมือส่วนต้น (proximal interphalangeal joints) ของนิ้วชี้ถึงนิ้วก้อย
-ข้อนิ้วโป้ง (thumb interphalangeal joints) ยกเว้นข้อโคนนิ้วโป้ง (carpometacarpal joint)
-ข้อโคนนิ้วเท้า (metatarsophalangeal joints) ยกเว้นนิ้วหัวแม่เท้า (1st metatarsophalangeal joint)
-ข้อมือ (wrists)
Ref: แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
วันอังคารที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2558
3,134 เกณฑ์ในการส่งผู้ป่วยโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์เพื่อพบอายุรแพทย์โรคข้อ
-เมื่อแพทย์ไม่แน่ใจในการวินิจฉัยโรค
-ผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนจากตัวโรคหรือมีอาการนอกข้อที่รุนแรง เช่น ข้อกระดูกสันหลังบริเวณต้นคอ (cervical) ที่ 1 และ 2 เคลื่อน ปอดมีพังผืด เยื่อหุ้มหัวใจหนา เป็นต้น
-ผู้ป่วยที่มีโรคร่วมอื่นๆ เช่น ไตเสื่อม ตับแข็ง หัวใจล้มเหลวชนิดเรื้อรัง เป็นต้น
-ผู้ป่วยที่ไม่ตอบสนองหรือตอบสนองไม่ดีต่อการรักษาด้วย DMARDs ขนาดสูงเป็นเวลาอย่างน้อย 3-6 เดือน
-ผู้ป่วยที่ไม่สามารถหยุดคอร์ติโคสเตียรอยด์ได้ภายใน 6-12 เดือน
-ผู้ป่วยที่ตั้งครรภ์และให้นมบุตร
-ผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนจากการรักษา
Ref: แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
-ผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนจากตัวโรคหรือมีอาการนอกข้อที่รุนแรง เช่น ข้อกระดูกสันหลังบริเวณต้นคอ (cervical) ที่ 1 และ 2 เคลื่อน ปอดมีพังผืด เยื่อหุ้มหัวใจหนา เป็นต้น
-ผู้ป่วยที่มีโรคร่วมอื่นๆ เช่น ไตเสื่อม ตับแข็ง หัวใจล้มเหลวชนิดเรื้อรัง เป็นต้น
-ผู้ป่วยที่ไม่ตอบสนองหรือตอบสนองไม่ดีต่อการรักษาด้วย DMARDs ขนาดสูงเป็นเวลาอย่างน้อย 3-6 เดือน
-ผู้ป่วยที่ไม่สามารถหยุดคอร์ติโคสเตียรอยด์ได้ภายใน 6-12 เดือน
-ผู้ป่วยที่ตั้งครรภ์และให้นมบุตร
-ผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนจากการรักษา
Ref: แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
วันจันทร์ที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2558
3,133 คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนการรับแจ้งเหตุและประสานหน่วยปฏิบัติการออกให้การช่วยเหลือผู้เจ็บป่วยฉุกเฉิน
โดยศูนย์บริการการแพทย์ฉุกเฉินกรุงเทพมหานคร(ศูนย์เอราวัณ) สํานักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบไปด้วย
-กระบวนการจัดบริการแพทย์ฉุกเฉิน
-แผนผังกระบวนการรับแจ้งเหตุและประสานหน่วยปฏิบัติการออกให้การช่วยเหลือผู้ป่วยฉุกเฉิน
-ขั้นตอนการปฏิบัติ มาตรฐานคุณภาพงาน และการติดตามประเมินผล เอกสารแบบฟอร์ม
-เอกสารอ้างอิง
ลิ้งค์ http://www.msd.bangkok.go.th/6guidework/4/2.pdf
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบไปด้วย
-กระบวนการจัดบริการแพทย์ฉุกเฉิน
-แผนผังกระบวนการรับแจ้งเหตุและประสานหน่วยปฏิบัติการออกให้การช่วยเหลือผู้ป่วยฉุกเฉิน
-ขั้นตอนการปฏิบัติ มาตรฐานคุณภาพงาน และการติดตามประเมินผล เอกสารแบบฟอร์ม
-เอกสารอ้างอิง
ลิ้งค์ http://www.msd.bangkok.go.th/6guidework/4/2.pdf
วันอาทิตย์ที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2558
3,132 หนังสือประวัติจิตเวชศาสตร์
โดยพลโทวีระ เขื่องศิริกุล
ประธานราชวิทยาลัยจิตแพทย์แห่งประเทศไทย
เนื้อโดยละเอียดประกอบด้วย
-คำนำ
-ประวัติจิตเวชศาสตร์สากล
1. ยุคก่อนประวัติศาสตร์หรือยุคดึกดำ บรรพ์ (Prehistoric period)
2. ยุคเริ่มต้นอารยธรรม
3. ยุควัฒนธรรมกรีกและโรมัน (Greco-Roman period)
4. ยุคกลาง (Medieval Period)
5. ยุคฟื้นฟู (The Renaissance)
6. ช่วงคริสต์ศตวรรษที่
7. ช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่
8. ช่วงหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20
9. จากกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 21
-ประวัติจิตเวชศาสตร์ในประเทศไทย
-บทสรุป
ลิ้งค์ คลิก
ประธานราชวิทยาลัยจิตแพทย์แห่งประเทศไทย
-คำนำ
-ประวัติจิตเวชศาสตร์สากล
1. ยุคก่อนประวัติศาสตร์หรือยุคดึกดำ บรรพ์ (Prehistoric period)
2. ยุคเริ่มต้นอารยธรรม
3. ยุควัฒนธรรมกรีกและโรมัน (Greco-Roman period)
4. ยุคกลาง (Medieval Period)
5. ยุคฟื้นฟู (The Renaissance)
6. ช่วงคริสต์ศตวรรษที่
7. ช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่
8. ช่วงหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20
9. จากกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 21
-ประวัติจิตเวชศาสตร์ในประเทศไทย
-บทสรุป
ลิ้งค์ คลิก
วันเสาร์ที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2558
3,131 คู่มือโรคกระดูกพรุน
ชุดความรู้เบื้องต้นเรื่อง การป้องกันโรคกระดูกพรุนสำหรับประชาชน
โดยมูลนิธิโรคกระดูกพรุนแห่งประเทศไทย ในพระอุปถัมภ์ของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโรคกระดูกพรุนและปัญหาของโรคกระดูกพรุนในประเทศไทย
-ปัจจัยเสี่ยงของโรคกระดูกพรุน
-อาหารและวิตามินสำหรับโรคกระดูกพรุน
-การออกกำลังกายเพื่อป้องกันโรคกระดูกพรุนและป้องกันการหกล้ม
-แบบทดสอบความเสี่ยงต่อสภาวะกระดูกพรุน
โดยมูลนิธิโรคกระดูกพรุนแห่งประเทศไทย ในพระอุปถัมภ์ของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโรคกระดูกพรุนและปัญหาของโรคกระดูกพรุนในประเทศไทย
-ปัจจัยเสี่ยงของโรคกระดูกพรุน
-อาหารและวิตามินสำหรับโรคกระดูกพรุน
-การออกกำลังกายเพื่อป้องกันโรคกระดูกพรุนและป้องกันการหกล้ม
-แบบทดสอบความเสี่ยงต่อสภาวะกระดูกพรุน
วันศุกร์ที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2558
3,130 Spot diagnosis: ผู้ป่วยชายสูงอายุ มีโรตประจำตัวไตวายเรื้อรังและหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง มีรอยโรคที่ขอสองข้อง
ผู้ป่วยชายสูงอายุ มีโรตประจำตัวไตวายเรื้อรังและหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง มีรอยผิวหนังที่ขาสองข้าง จะให้การวินิจฉัยและรักษาอย่างไร?
เป็นลักษณะของผิวหนังที่มีความแห้ง (dry skin, xerosis condition, xerosis cutis, xeroderma) แล้วแตกออก เนื่องจากขาดความชุ่มชื้นซึ่งเกิดกับผิวหนังชั้นนอกสุด คือชั้น stratum corneum
การรักษาคือ แก้ไขสาเหตุ ถ้าพบสาเหตุ ร่วมกับการทาครีมที่มีสารให้ความชุ้มชื้นผิว (moisturizers)
วันพฤหัสบดีที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2558
3,129 Viscosupplementation for osteoarthritis of the knee
Clinical therapeutics
N Engl J Med March 12, 2015
Hyaluronate เป็นส่วนประกอบที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติของกระดูกอ่อนและของเหลวที่หล่อเลี้ยงข้อ (synovial fluid) โดยเป็น polysaccharide มีส่วนประกอบเป็นลักษณะซ้ำๆ อย่างต่อเนื่องในลำดับโมเลกุลของ β-D-glucuronic acid และ β-DN-acetylglucosamine มีมวลโมเลกุลในน้ำไขข้อปกติจาก 6,500 ถึง 10,900 กิโลดาลตัน ภายในเข่าของผู้ใหญ่ปกติจะมีประมาณ 2 มิลลิลิตรของของน้ำหล่อเลี้ยงข้อ โดยมีความเข้มข้นของ Hyaluronate 2.5-4.0 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร Hyaluronate ทำหน้าที่ในด้านการเกิดคุณสมบัติของของเหลวน้ำเลี้ยงข้อ ทำให้ทำหน้าที่เป็นสารหล่อลื่นหรือกันกระเทือน โดยขึ้นอยู่กับแรงที่มากระทำ
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-The Clinical Problem
-Pathophysiological Aspects of Osteoarthritis and the Effect of Therapy
-Clinical Evidence
-Clinical Use
-Adverse Effects
-Areas of Uncertainty
-Guidelines
-Recommendations
-Source Information
อ้างอิงและอ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMct1215534
N Engl J Med March 12, 2015
Hyaluronate เป็นส่วนประกอบที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติของกระดูกอ่อนและของเหลวที่หล่อเลี้ยงข้อ (synovial fluid) โดยเป็น polysaccharide มีส่วนประกอบเป็นลักษณะซ้ำๆ อย่างต่อเนื่องในลำดับโมเลกุลของ β-D-glucuronic acid และ β-DN-acetylglucosamine มีมวลโมเลกุลในน้ำไขข้อปกติจาก 6,500 ถึง 10,900 กิโลดาลตัน ภายในเข่าของผู้ใหญ่ปกติจะมีประมาณ 2 มิลลิลิตรของของน้ำหล่อเลี้ยงข้อ โดยมีความเข้มข้นของ Hyaluronate 2.5-4.0 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร Hyaluronate ทำหน้าที่ในด้านการเกิดคุณสมบัติของของเหลวน้ำเลี้ยงข้อ ทำให้ทำหน้าที่เป็นสารหล่อลื่นหรือกันกระเทือน โดยขึ้นอยู่กับแรงที่มากระทำ
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-The Clinical Problem
-Pathophysiological Aspects of Osteoarthritis and the Effect of Therapy
-Clinical Evidence
-Clinical Use
-Adverse Effects
-Areas of Uncertainty
-Guidelines
-Recommendations
-Source Information
อ้างอิงและอ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMct1215534
วันพุธที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2558
วันอังคารที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2558
3,127 ผู้ป่วยหญิงอายุ 67 ปี มีก้อนที่นิ้วหัวแม่มือซ้ายประมาณปีครึ่ง tophaceous gout
ผู้ป่วยหญิงอายุ 67 ปี มีก้อนที่นิ้วหัวแม่มือซ้ายประมาณปีครึ่ง ไม่มีไข้ ไม่มีประวัติบาดเจ็บบริเวณนี้ บางครั้งแตกออก จากรูปจะให้การวินิจฉัยอะไรครับ? (ส่วนรอยเส้นดำๆ ที่ขอบเล็บ ไม่เกี่ยวกับรอยโรคที่ถามนะครับ)
เมื่อถามรายละเอียดเพิ่มเติม ตอนที่ก้อนแตกออกจะมีลักษณะเป็นน้ำข้นๆ คล้ายช็อลก์ละลายน้ำ ซึ่งจากข้อมูลทำให้คิดถึงการแตกออกของ tophaceous gout ครับ
วันจันทร์ที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2558
3,126 Spot diagnosis: EKG ผู้ป่วยชายอายุ 48 ปี อ่อนเพลีย รู้สึกเหนื่อยง่าย
Spot diagnosis: EKG ผู้ป่วยชายอายุ 48 ปี มีอาการอ่อนเพลีย รู้สึกเหนื่อยง่าย การวินิจฉัยหลักของ EKG ที่เห็นคือ
กดที่ภาพเพื่อขยายขนาด
ขอขอบคุณสำหรับคำตอบที่ร่วมเรียรู้ครับ
จาก EKG พบว่ามี QRS complex ที่กว้างมากกว่า 110 ms.ซึ่งถือเป็นเกณฑ์ว่ามี intraventricular conducting delay ซึงมักจะเกิดเนื่องมาจากการมี bundle branch block หรือ left ventricular hypertrophy
โดยสาเหตุแยกเป็นกลุ่มๆ โดยละเอียดได้แก่
-Fascicular and bundle-branch blocks ชนิดต่างๆ
-Ventricular hypertrophy and dilatation
-Electrolyte abnormalities eg. hyperkalemia
-Toxins: Sodium-channel blocker toxicity (e.g. TCA overdose)
-Pre-excitation: Wolff-Parkinson-White syndrome – wide QRS plus delta waves.
-Arrhythmogenic cardiac conditions: Brugada syndrome
วันอาทิตย์ที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2558
3,125 แนวทางการตรวจและประเมินผู้ที่มีภาวะ chronic visual loss
จากเวปไซต์คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-บทบาทและความสำคัญของปัญหา chronic visual loss ในโลกและในประเทศไทย
-นิยามของ chronic visual loss
-อาการและอาการแสดงของผู้ป่วย chronic visual loss
-การแบ่งกลุ่มโรคที่เป็นสาเหตุของ chronic visual loss
-ลำดับขั้นตอนของการประเมินผู้ป่วยที่มาด้วยปัญหาตามัว
-การวินิจฉัยแยกโรค chronic visual loss
ลิ้งค์ http://med.mahidol.ac.th/eye/sites/default/files/public/chronic%20blur%20vision_0.doc
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-บทบาทและความสำคัญของปัญหา chronic visual loss ในโลกและในประเทศไทย
-นิยามของ chronic visual loss
-อาการและอาการแสดงของผู้ป่วย chronic visual loss
-การแบ่งกลุ่มโรคที่เป็นสาเหตุของ chronic visual loss
-ลำดับขั้นตอนของการประเมินผู้ป่วยที่มาด้วยปัญหาตามัว
-การวินิจฉัยแยกโรค chronic visual loss
ลิ้งค์ http://med.mahidol.ac.th/eye/sites/default/files/public/chronic%20blur%20vision_0.doc
วันเสาร์ที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2558
3,124 ประสิทธิผลของ Mammography ในการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมเปรียบเทียบกับ Mammography ร่วมกับ Ultrasound
จากเวปไซต์สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
จากผลการศึกษาจึงมีคำแนะนำดังนี้
ประสิทธิผลของ Mammography ในการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมเปรียบเทียบกับ Mammography ร่วมกับ Ultrasound มีข้อเสนอแนะคือการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วย mamography อย่างเดียว น่าจะเพียงพอสำหรับการตรวจคัดกรองที่เป็น mass screening และเพื่อให้การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วย mammography อย่างเดียวมีประสิทธิผลยิ่งขึ้น ควรมีการติดตามตรวจอย่างต่อเนื่องอย่างน้อยทุก 5 ปี
และที่สำคัญหากผลการตรวจมีข้อสงสัยควรยันผลในเบื้องต้นด้วย ultrasound ก่อนการส่งพบศัลยแพทย์เพื่อการตรวจวินิจฉัยต่อไป
อ้างอิง http://www.dms.moph.go.th/imrta/images/data/20121016.jpg
ประสิทธิผลของ Mammography ในการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมเปรียบเทียบกับ Mammography ร่วมกับ Ultrasound มีข้อเสนอแนะคือการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วย mamography อย่างเดียว น่าจะเพียงพอสำหรับการตรวจคัดกรองที่เป็น mass screening และเพื่อให้การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วย mammography อย่างเดียวมีประสิทธิผลยิ่งขึ้น ควรมีการติดตามตรวจอย่างต่อเนื่องอย่างน้อยทุก 5 ปี
และที่สำคัญหากผลการตรวจมีข้อสงสัยควรยันผลในเบื้องต้นด้วย ultrasound ก่อนการส่งพบศัลยแพทย์เพื่อการตรวจวินิจฉัยต่อไป
อ้างอิง http://www.dms.moph.go.th/imrta/images/data/20121016.jpg
วันศุกร์ที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2558
3,123 Diagnosis and management of sodium disorders: hyponatremia and hypernatremia
Am Fam Physician. 2015 Mar 1;91(5):299-307.
ภาวะโซเดียมเซียมในเลือดต่ำหรือสูงพบได้บ่อยในแผนกผู้ป่วยในผู้ป่วยนอก ความผิดปกติของโซเดียมมีความเกี่ยวข้องกับความเสี่ยงที่เพิ่มขึ้นของการเจ็บป่วยและการเสียชีวิต ออสโมติกของพลาสม่ามีบทบาทสำคัญในพยาธิสรีรวิทยาและการรักษาความผิดปกติของโซเดียม และภาวะภาวะโปแตสเซียมในเลือดต่ำหรือสูงจะแบ่งได้ตามสถานะของปริมาณสารน้ำในร่างกายคือ สภาวะที่มีน้ำน้อย (hypovolemia), สภาวะที่มีน้ำปกติ (euvolemia) และสภาวะที่มีน้ำมาก (hypervolemia) ความผิดปกติของโซเดียมได้รับการวินิจฉัยโดยข้อมูลจากประวัติตรวจ การตรวจร่างกาย การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการ ประเมินสภาวะของสารน้ำในร่างกาย การรักษาจะขึ้นอยู่กับอาการและสาเหตุ โดยทั่วไปภาวะโซเดียมในเลือดต่ำให้การรักษาด้วยการจำกัดสารน้ำ (ในสภาวะที่มีน้ำปกติ) การให้สารน้ำที่มีค่าออสโมลเท่ากับในเลือด (ในสภาวะที่มีน้ำน้อย) และการให้ยาขับปัสสาวะ (ในสภาวะที่มีน้ำมาก) การให้การรักษาร่วมกันอาจจะมีความจำเป็นอยู่บนพื้นฐานของผู้ป่วย น้ำเกลือเข้มข้น (hypertonic saline) ถูกนำมาใช้ในการรักษาภาวะที่มีภาวะโซเดียมเซียมในเลือดต่ำอย่างรุนแรง ส่วนยาเช่น vaptans อาจมีบทบาทสำคัญในการรักษาสภาวะที่มีน้ำปกติ แลสภาวะที่มีน้ำน้อย ภาวะการรักษาภาวะโซเดียมในเลือดสูงจะเกี่ยวข้องกับการแก้ไขที่สาเหตุและแก้ไขการขาดน้ำชนิดชนิด free water
ลิ้งค์ http://www.aafp.org/afp/2015/0301/p299.html
ภาวะโซเดียมเซียมในเลือดต่ำหรือสูงพบได้บ่อยในแผนกผู้ป่วยในผู้ป่วยนอก ความผิดปกติของโซเดียมมีความเกี่ยวข้องกับความเสี่ยงที่เพิ่มขึ้นของการเจ็บป่วยและการเสียชีวิต ออสโมติกของพลาสม่ามีบทบาทสำคัญในพยาธิสรีรวิทยาและการรักษาความผิดปกติของโซเดียม และภาวะภาวะโปแตสเซียมในเลือดต่ำหรือสูงจะแบ่งได้ตามสถานะของปริมาณสารน้ำในร่างกายคือ สภาวะที่มีน้ำน้อย (hypovolemia), สภาวะที่มีน้ำปกติ (euvolemia) และสภาวะที่มีน้ำมาก (hypervolemia) ความผิดปกติของโซเดียมได้รับการวินิจฉัยโดยข้อมูลจากประวัติตรวจ การตรวจร่างกาย การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการ ประเมินสภาวะของสารน้ำในร่างกาย การรักษาจะขึ้นอยู่กับอาการและสาเหตุ โดยทั่วไปภาวะโซเดียมในเลือดต่ำให้การรักษาด้วยการจำกัดสารน้ำ (ในสภาวะที่มีน้ำปกติ) การให้สารน้ำที่มีค่าออสโมลเท่ากับในเลือด (ในสภาวะที่มีน้ำน้อย) และการให้ยาขับปัสสาวะ (ในสภาวะที่มีน้ำมาก) การให้การรักษาร่วมกันอาจจะมีความจำเป็นอยู่บนพื้นฐานของผู้ป่วย น้ำเกลือเข้มข้น (hypertonic saline) ถูกนำมาใช้ในการรักษาภาวะที่มีภาวะโซเดียมเซียมในเลือดต่ำอย่างรุนแรง ส่วนยาเช่น vaptans อาจมีบทบาทสำคัญในการรักษาสภาวะที่มีน้ำปกติ แลสภาวะที่มีน้ำน้อย ภาวะการรักษาภาวะโซเดียมในเลือดสูงจะเกี่ยวข้องกับการแก้ไขที่สาเหตุและแก้ไขการขาดน้ำชนิดชนิด free water
ลิ้งค์ http://www.aafp.org/afp/2015/0301/p299.html
วันพฤหัสบดีที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2558
3,122 Clinical management of potential bioterrorism-related conditions
Review article
N Engl J Med March 5, 2015
ในบทความนี้จะทบทวนการจัดการทางคลินิกของการติดเชื้อที่ตั้งใจให้เกิดขึ้นในหลายๆ ชนิด ซึ่งคือความกังวลเกี่ยวกับอาวุธชีวภาพ บนพื้นฐานของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีตควบคู่ไปกับข้อมูลเกี่ยวที่กับความง่ายในการแพร่กระจาย, contagiousness, อัตราการเสียชีวิต, ผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน, ความสามารถในการก่อให้เกิดความตื่นตระหนก, และความจำเป็นในการเตรียมความพร้อมเป็นพิเศษศูนย์ควบคุมและป้องกันโรค (Centers for Disease Control and Prevention, CDC) ได้แบ่งเชื้อโรคและสารพิษออกเป็นสามประเภทตามความเสี่ยงคือ A, B, C โดยประเภท A จัดอยู่ในระดับสูงสุดของความกังวลและการเตรียมความพร้อมรับมือ ในการทบทวนนี้พิจารณาโรคที่มีสาเหตุมาจากประเภท A ที่มีข้อมูลทางคลินิกระดับสูง โดยในประเภท A viral hemorrhagic fever ก็ยังคงมีขอบเขตอยู่ในบทความนี้
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-Anthrax
Cutaneous Anthrax
Gastrointestinal Anthrax
Injectional Anthrax
Inhalational Anthrax
Considerations for Anthrax in Special Populations
Diagnosis of Anthrax
Treatment of Anthrax
Prevention of Anthrax
-Smallpox
Cardinal Features of Smallpox
Diagnosis of Smallpox
Treatment and Prevention of Smallpox
-Pneumonic Plague
Cardinal Features of Pneumonic Plague
Diagnosis of Pneumonic Plague
Treatment and Prevention of Pneumonic Plague
-Botulism
Cardinal Features of Inhalational Botulism
Diagnosis of Botulism
Treatment of Botulism
-Tularemia
Cardinal Features of Pneumonic Tularemia
Diagnosis of Tularemia
Treatment and Prevention of Tularemia
-Conclusions
-Source Information
อ้างอิงและอ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMra1409755
N Engl J Med March 5, 2015
ในบทความนี้จะทบทวนการจัดการทางคลินิกของการติดเชื้อที่ตั้งใจให้เกิดขึ้นในหลายๆ ชนิด ซึ่งคือความกังวลเกี่ยวกับอาวุธชีวภาพ บนพื้นฐานของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีตควบคู่ไปกับข้อมูลเกี่ยวที่กับความง่ายในการแพร่กระจาย, contagiousness, อัตราการเสียชีวิต, ผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน, ความสามารถในการก่อให้เกิดความตื่นตระหนก, และความจำเป็นในการเตรียมความพร้อมเป็นพิเศษศูนย์ควบคุมและป้องกันโรค (Centers for Disease Control and Prevention, CDC) ได้แบ่งเชื้อโรคและสารพิษออกเป็นสามประเภทตามความเสี่ยงคือ A, B, C โดยประเภท A จัดอยู่ในระดับสูงสุดของความกังวลและการเตรียมความพร้อมรับมือ ในการทบทวนนี้พิจารณาโรคที่มีสาเหตุมาจากประเภท A ที่มีข้อมูลทางคลินิกระดับสูง โดยในประเภท A viral hemorrhagic fever ก็ยังคงมีขอบเขตอยู่ในบทความนี้
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-Anthrax
Cutaneous Anthrax
Gastrointestinal Anthrax
Injectional Anthrax
Inhalational Anthrax
Considerations for Anthrax in Special Populations
Diagnosis of Anthrax
Treatment of Anthrax
Prevention of Anthrax
-Smallpox
Cardinal Features of Smallpox
Diagnosis of Smallpox
Treatment and Prevention of Smallpox
-Pneumonic Plague
Cardinal Features of Pneumonic Plague
Diagnosis of Pneumonic Plague
Treatment and Prevention of Pneumonic Plague
-Botulism
Cardinal Features of Inhalational Botulism
Diagnosis of Botulism
Treatment of Botulism
-Tularemia
Cardinal Features of Pneumonic Tularemia
Diagnosis of Tularemia
Treatment and Prevention of Tularemia
-Conclusions
-Source Information
อ้างอิงและอ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMra1409755
วันพุธที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2558
3,121 โรคเรื้อรัง ในผู้สูงอายุ
โดย รศ. พญ. วรพรรณ เสนาณรงค
คณะแพทยศาสตรศร์ ศิริราชพยาบาล
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบไปด้วย
-คำจำกัดความโรคเรื้อรัง
-พฤติกรรมเสี่ยง ตัวอย่างโรคเรื้อรัง
-สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย
-โครงการ สชช
-โรคหลอดเลือดสมอง ภาวะสมองเสื่อม
ลิ้งค์ http://www.aihd.mahidol.ac.th/res/?dl_name=older/chronic%20disease%20in%20the%20elderly.pdf
คณะแพทยศาสตรศร์ ศิริราชพยาบาล
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบไปด้วย
-คำจำกัดความโรคเรื้อรัง
-พฤติกรรมเสี่ยง ตัวอย่างโรคเรื้อรัง
-สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย
-โครงการ สชช
-โรคหลอดเลือดสมอง ภาวะสมองเสื่อม
ลิ้งค์ http://www.aihd.mahidol.ac.th/res/?dl_name=older/chronic%20disease%20in%20the%20elderly.pdf
วันอังคารที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2558
3,120 แนวทางในการรักษาต่อมลูกหมากโต (BPH)
โดย นพ.ไชยยงค์ นวลยง ศัลยกรรมระบบทางเดินปัสสาวะ
โรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-คำจำกัดความ (Definifions)
-การวินิจฉัย BPH
Standard
Guideline
Option
-PSA ควรจะส่งตรวจในรายที่
-การรักษา BPH ในปัจจุบัน
-การแบ่งกลุ่มผู้ป่วย BPH ตามระดับความรุนแรง
-วิธีการรักษา BPH
-หลักการรักษาตามความรุนแรงของโรค BPH
-คำแนะนำในกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงมาก
ลิ้งค์ http://www.anamai.moph.go.th/occmed/uro/GuidelinesBPH.html
โรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-คำจำกัดความ (Definifions)
-การวินิจฉัย BPH
Standard
Guideline
Option
-PSA ควรจะส่งตรวจในรายที่
-การรักษา BPH ในปัจจุบัน
-การแบ่งกลุ่มผู้ป่วย BPH ตามระดับความรุนแรง
-วิธีการรักษา BPH
-หลักการรักษาตามความรุนแรงของโรค BPH
-คำแนะนำในกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงมาก
ลิ้งค์ http://www.anamai.moph.go.th/occmed/uro/GuidelinesBPH.html
วันจันทร์ที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2558
3,119 ผู้ป่วยชายสูงวัย มีผื่นเม็ดกลม เล็กๆ ขึ้นที่ขามานานกว่า 1 ปี ไปซื้อยามาทาเอง หลังทายาผิวหนังลอกเป็นขุย
ผู้ป่วยชายสูงวัย มีผื่นเม็ดกลม เล็กๆ ขึ้นที่ขามานานกว่า 1 ปี ไปซื้อยามาทาเอง หลังทายาผิวหนังลอกเป็นขุย แต่ก็ยังเห็นรอยผื่นนูนเดิม จะให้การวินิจฉัยอะไร และรักษาอย่างไรครับ?
ขอขอบคุณสำหรับคำตอบที่ร่วมเรียนรู้ครับ
จากภาพจะพบลักษณะของ hyperkeratotic papules กระจายตัวที่หน้าแข้งสองข้างเมื่อดูลักษณะทางพยาธิวิทยาจะพบ amyloid ที่สะสมอยู่ที่ papillary dermis จึงน่าจะเข้าได้กับ lichen amyloidosis หรือ cutaneous amyloidosis ครับ
ส่วนการรักษามีหลายวิธีและรายละเอียดค่อนข้างมาก ขอให้ติดตามอ่านต่อตามลิ้งค์ด้านล่างนี้ครับ
วันอาทิตย์ที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2558
3,118 มาตรฐานการปฏิบัติงานผสมยาเคมีบำบัด
โดยกลุ่มงานเภสัชกรสาขาโรคมะเร็ง สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย)
มาตรฐานที่ 1 บุคลากร
มาตรฐานที่ 2 สถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวก
มาตรฐานที่ 3 ฉลากยาเคมีบำบัด
มาตรฐานที่ 4 การกำจัดขยะปนเปื้อนยาเคมีบำบัด และการจัดการเมื่อยาหกหรือตกแตก
มาตรฐานที่ 5 การจ่ายยาเคมีบำบัด
ลิ้งค์ http://www.thaihp.org/index2.php?option=showfile&tbl=home&id=168
มาตรฐานที่ 1 บุคลากร
มาตรฐานที่ 2 สถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวก
มาตรฐานที่ 3 ฉลากยาเคมีบำบัด
มาตรฐานที่ 4 การกำจัดขยะปนเปื้อนยาเคมีบำบัด และการจัดการเมื่อยาหกหรือตกแตก
มาตรฐานที่ 5 การจ่ายยาเคมีบำบัด
ลิ้งค์ http://www.thaihp.org/index2.php?option=showfile&tbl=home&id=168