หน้าเว็บ

วันเสาร์ที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

วันศุกร์ที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

3,116 การประเมินและเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัด (preoperative evaluation and preparation)

โดย ผศ.พญ.น้ำทพย์  ไตรยสุนันท์ 
ภาควิชาวิสัญญีวิทยา 
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล 
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-การซักประวัติ
-การตรวจร่างกาย
-การตรวจประเมินทางหายใจ (Airway assessment)
-การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
-ตาราง ข้อบ่งชี้ของการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
-ตาราง ข้อแนะนำการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ (Screening tests)
-การประเมินความเสี่ยง
-การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัด (preoperative preparation)
-ตาราง แนวทางการงดนาและอาหารกอนผาตด4
-การใหยา Premedication
-ชนดและขนาดของยา premedication
-การประเมินและเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัดในโรคที่พบบ่อย
  โรคความดันโลหิตสูง
  โรคเบาหวาน
  โรคหืด และโรคถุงลมอุดกั้นเรื้อรัง

ลิ้งต์ คลิก

วันพฤหัสบดีที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

3,115 Enduring and emerging challenges of informed consent

Review article
N Engl J Med     February 26, 2015

ความยินยอมรับการรักษาพยาบาล (informed consent) เป็นที่ยอมรับกันอย่างแพร่หลายตามกฎหมาย, จริยธรรม และมีความจำเป็นที่ต้องทำเป็นประจำสำหรับการศึกษาวิจัยและการให้การดูแลสุขภาพ แต่อย่างไรก็ตามการปฏิบัติของความยินยอมมีความแตกต่างกันตามบริบท และในความเป็นจริงมักจะต่ำกว่าที่หวังไว้ในเชิงความคิดทางทฤษฏี การพัฒนาสมัยใหม่ในการดูแลสุขภาพและการวิจัยทางคลินิกเกิดการเรียกร้องอีกครั้งเพื่อให้เกิดความยั่งยืนและการรับมือกับความท้าทายของความยินยอมรับการรักษาพยาบาล เช่น อะไรคือข้อมูลที่ควรจะเปิดเผย, ควรจะเปิดเผยอย่างไร, ผู้ที่จะให้ความยินยอมควรเข้าใจมากน้อยเท่าไร และวิธีการที่ชัดเจนได้รับความยินยอมควรจะเป็นแบบใด
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-Ethical and Legal Foundations
-Gaps between Theory and Practice
-Changing Models of Health Care and Research
-Consent and Emerging Technologies
-Changing Demographics
-Source Information

Ref: http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMra1411250

วันพุธที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

3,114 Spot diagnosis EKG ผู้ป่วยชายวัยกลางคน มาด้วยเจ็บหน้าอกซ้ายประมาณครึ่งชั่วโมงก่อนมา รพ.

ผู้ป่วยชายวัยกลางคน มาด้วยเจ็บหน้าอกซ้ายประมาณครึ่งชั่วโมงก่อนมา รพ. EKG เป็นดังภาพด้านล่าง จะคิดถึงอะไร และจะทำการตรวจอะไรต่อเพื่อการวินิจฉัยครับ?

คลิกขวาที่ภาพเพื่อขยายขนาด

วันอังคารที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

3,113 แนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการ Drug hypersensitivity syndrome

Clinical practice guideline in the diagnosis and management of  drug hypersensitivity syndrome

เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-ความนำ
-การวินิจฉัยโรค
-การวินิจฉัยแยกโรค
-ภาวะแทรกซ้อน
-การรักษา
-การดำเนินโรค
-การป้องกัน
-สรุป
-แผนภูมิแสดงการวินิจฉัยและการรักษากลุ่มอาการ DRESS
-เอกสารอ้างอิง

ลิ้งค์ http://www.dms.moph.go.th/dmsweb/cpgcorner/Dhs.pdf

วันจันทร์ที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

3,112 ตำแหน่งของยาต่างๆ ที่ออกฤทธิ์ยับยั้งระบบ renin–angiotensin–aldosterone system (RAAS) ในการรักษาภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง

ตำแหน่งของยาที่มีออกฤทธิ์ยับยั้งระบบ renin–angiotensin–aldosterone system (RAAS) ในการรักษาภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง (chronic heart failure) และการเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างและการทำงานของหัวใจ (cardiac remodeling) ของยา beta-blocker, angiotensin converting enzyme inhibitor (ACE-I), angiotensin receptor blocker (ARB) และ mineralocorticoid re-ceptor antagonist (MRA)

อ้างอิง แนวทางเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษาผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557

วันอาทิตย์ที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

3,111 การศึกษาวิจัยเรื่องการใช้ยาของผู้บริจาคโลหิตและหลักเกณฑ์การคัดเลือกผู้บริจาคโลหิตที่ใช้ยา ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ

โดยพนาวรรณ ​​คุณติสุข แล ะ​ตรึงตรา​​ ลีลารังสรรค์
ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย

ซึ่งการศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาสาเหตุที่ทำให้ผู้บริจาคโลหิตที่ใช้ยาถูกปฏิเสธการรับบริจาค
โลหิต โดยพิจารณาจากชนิดของยาที่ผู้บริจาคโลหิตใช้ รวมถึงเปรียบเทียบอัตราการปิฏเสธการรับบริจาคโลหิตเนื่องจากการใช้ยาของผู้บริจาคโลหิตโดยคัดกรองตามหลักเกณฑ์ในคู่มือการคัดเลือกผู้บริจาคโลหิตของศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ พ.ศ. 2548 กับหลักเกณฑ์ในคู่มือฯ พ.ศ. 2552

อ่านเนื้อหาโดยละเอียด คลิก

วันเสาร์ที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

วันศุกร์ที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

3,109 คู่มือการใช้ตู้ชีวนิรภัยอย่างถูกต้องปลอดภัย

โดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข



วันพฤหัสบดีที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

3,108 Groin hernias in adults

Clinical practice
N Engl J MedFebruary 19, 2015

Key Clinical Points
-ใส้เลื่อนที่ขาหนีบพบได้บ่อยกว่าในผู้ชายมากกว่าผู้หญิง
-ผู้ป่วยที่มีภาวะไส้เลื่อนติดค้างแบบเฉียบพลัน (incarceration) และเกิดการบีบรัด (strangulation) ต้องการการผ่าตัดฉุกเฉิน
-การรักษาโดยการตรวจติดตาม-เฝ้ารอเป็นวิธีที่ปลอดภัยสำหรับผู้ป่วยชายที่เป็นใส้เลื่อนที่ขาหนีบ (inguinal hernia) แบบไม่มีอาการ แต่ข้อมูลจากการศึกษาแบบสุ่มชี้ให้เห็นว่าส่วนใหญ่ของคนไข้ในท้ายที่สุดแล้วจะได้รับการการผ่าตัดเพราะสาเหตุหลักคือความเจ็บปวดภายใน 10 ปี
-สำหรับไส้เลื่อนที่ขาหนีบข้างเดียวที่ไม่มีภาวะแรกซ้อน การผ่าตัดแบบเปิดเพื่อแก้ไขและมีแนวโน้มความก้าวหน้าที่จะสามารถดำเนินการภายใต้การฉีดยาชาเฉพาะ โดยมีค่าใช้จ่ายเริ่มต้นที่ต่ำกว่า; ผลการผ่าตัดแก้ไขผ่านกล้องพบว่าความเจ็บปวดหลังการผ่าตัดน้อยลงและสามารถกลับมาทำกิจกรรมตามปกติได้รวดเร็วกว่า แต่ยังจำเป็นต้องวางยาสลบที่ทำแบบ routine และมีความเสี่ยงเล็กน้อยของการบาดเจ็บในช่องท้องที่รุนแรง
-ไส้เลื่อนบริเวณที่ต่ำกว่าขาหนีบ (femoral hernia) เกิดขึ้นบ่อยในผู้หญิงมากกว่าในผู้ชายมีความเกี่ยวข้องกับความเสี่ยงที่สูงมากของการมีภาวะบีบรัดและอาจเป็นเรื่องยากที่จะแยกแยะความแตกต่างจากใส้เลื่อนขาหนีบ; การรักษาโดยการตรวจติดตาม-เฝ้ารอเป็นสิ่งที่ไม่แนะนำในผู้หญิง
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-The Clinical Problem
-Demographics and Risk Factors
-Strategies and Evidence
   Diagnosis and Evaluation
   Management
   Asymptomatic or Minimally Symptomatic Hernias
   Surgical Treatment
   Laparoscopic Inguinal Hernia Repair
-Areas of Uncertainty
-Guidelines
-Conclusions and Recommendations
-Source Information

อ้างอิงและอ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMcp1404068

วันพุธที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

3,107 แอพพลิเคชั่นสำหรับการคำนวนปริมาณยาวาร์ฟาริน (Warfarin Calc)

เป็นแอพพลิเคชั่นสำหรับการคำนวนปริมาณยาวาร์ฟาริน (warfarin) ที่ชื่อว่า Warfarin Calc by Jidapa
โดยเราเติมข้อมูลว่าขณะนี้คนไข้ใช้ในปริมาณเท่าไร และเราต้องการเพิ่มหรือลดระดับยาในช่วงเท่าไร หรือเลือกว่าขณะนี้ INR อยู่ที่เท่าไร โปรแกรมก็จะคำนวนให้เลยว่าวาร์ฟารินที่ต้องการเพื่อปรับขนาดเป็นเท่าไรและจะรับประทานอย่างไรในแต่ละวันเมื่อเรามียาขนาด 3 และ 5 มก. คิดว่ามีประโยชน์ เพิ่มความถูกต้องรวดเร็วในการดูแลผู้ป่วย
ซึ่งจัดทำโดคุณหมอจิดาภา และคุณหมอจักรพงษ์ รพ. สิชล ลองดาวน์โหลดไปใช้ดูมีเวอร์ชั่นแอนดรอยด์ (android) ซึ่งสามารถดาวน์โหลดจากลิ้งค์นี้ https://play.google.com/store/apps/details?id=com.sichon.www และยังสามารถใช้งานบนคอมพิวเตอร์โดยตรงผ่านทาง http://www.xn--b3c8cn4b.com/


วันอังคารที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

วันจันทร์ที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

3,105 เกณฑ์การวินิจฉัย SLE ใหม่ ปี 2012

เกณฑ์การวินิจฉัย SLE โดย  Systemic Lupus International Collaborating Clinics (SLICC) ในปั 2012
โดยมีตั้งแต่ 4 ใน 11 ข้อของเกณฑ์ทางคลินิก และมีอย่างน้อย 1 ใน 6 ข้อของเกณฑ์ทางอิมมูน

เกณฑ์ทางคลินิก (clinical criteria)
1. Acute Cutaneous Lupus OR Subacute Cutaneous Lupus
2. Chronic Cutaneous Lupus
3. Oral Ulcers OR Nasal Ulcers
4. Nonscarring alopecia
5. Synovitis involving 2 or more joints
6. Serositis
7. Renal
8. Neurologic
9. Hemolytic anemia
10. Leukopenia (below 4000/mm3 or lymphopenia below 1000/mm3)
11. Thrombocytopenia (below 100,000/mm3)
  เกณฑ์ทางอิมมูน (immunologic criteria)
1. ANA
2. Anti-dsDNA
3. Anti-Sm
4. Antiphospholipid antibody
5. Low complement (C3, C4, or CH50)
6. Direct Coombs’ test (in the absence of hemolytic anemia)

Ref: http://www.rheumtutor.com/2012-slicc-sle-criteria/

วันอาทิตย์ที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

3,104 แนวทางการดูแลรักษาโรคลมพิษ 2557

Clinical Practice Guideline 2557  
แนวทางการดูแลรักษาโรคลมพิษ (Urticaria/Angioedema) 
จัดทำโดย 
สมาคมแพทย์ผิวหนังแห่งประเทศไทย 
สมาคมโรคภูมิแพ้ โรคหืด และวิทยาภูมิคุ้มกันแห่งประเทศไทย 
ชมรมแพทย์ผิวหนังเด็กแห่งประเทศไทย 



ลิ้งค์ คลิก

วันเสาร์ที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

3,103 พบผู้ป่วยที่ได้รับยา Lopinavir/Ritonavir แล้วมีอาการคลื่นใส้ อาเจียน มีท้องเสีย ปวดท้อง จึงทบทวนดูผลข้างเคียง

พบผู้ป่วยที่ได้รับยา Lopinavir/Ritonavir แล้วมีอาการคลื่นใส้ อาเจียน มีท้องเสีย ปวดท้อง จึงทบทวนดูผลข้างเคียงของระบบทางเดินอาหารที่สำคัญโดยเรียงตามลำดับความบ่อยมีดังนี้
-ท้องเสียในระดับปานกลางถึงรุนแรงคือ 19.5% (ตั้งแต่ 10% ขึ้นไปถือว่าพบได้บ่อย)
-คลื่นใส้ระดับปานกลางถึงรุนแรงคือ 10.3%
-อาเจียนระดับปานกลางถึงรุนแรงคือ 6.1%
-อาการปวดท้อง-ลำไส้อักเสบระดับปานกลางถึงรุนแรงพบได้ 2.5%
-dyspepsia ในระดับปานกลางถึงรุนแรง 2%
-ตับอ่นนอักเสบในระดับปานกลางถึงรุนแรง 1.7%
-กรดไหลย้อนในระดับปานกลางถึงรุนแรง 1.5%

Ref: http://www.drugs.com/sfx/lopinavir-ritonavir-side-effects.html

วันศุกร์ที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

3,102 สถานการณ์โรคไข้เลือดออกในประเทศไทย ปี 2558 (ล่าสุดจนถึงปัจจุบัน)

โดยสำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
จำนวนผู้ป่วยสะสม DHF+DF+DSS ณ วันที่ 10 ก.พ. 2558 (สัปดาห์ที่ 5)
จำนวนผู้ป่วย 2,352 ราย
จำนวนผู้ป่วยเสียชีวิต 1 ราย
อัตราป่วยต่อแสนประชากร 3.64 ราย
อัตราตายต่อแสนประชากร 0.00 ราย
อัตราป่วยตาย (ร้อยละ) 0.04 ราย

Ref: http://www.thaivbd.org/n/

วันพฤหัสบดีที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

3,101 Asthma and exercise-induced bronchoconstriction in athletes

Review article
N Engl J Med   February 12, 2015

หอบหืดที่อาจเกิดจากการออกกำลังกาย (exercise-induced bronchoconstriction) เป็นคำที่อธิบายการตีบแคบของหลอดลมที่เกิดขึ้นชั่วคราวหลังการออกกำลังกายซึ่งเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นบ่อยในหมู่นักกีฬาที่อาจจะไม่เคยได้รับการวินิจฉัยหอบหืดมาก่อนหรือแม้กระทั่งไม่มีอาการระบบทางเดินหายใจใด ๆ มาก่อน
หลอดลมตีบจากการออกกำลังกายทำให้เกิดการเกิดการตอบสนองที่รวดเร็วของหลอดลม ได้ถูกกำหนดโดยแนวโน้มของหลอดลมที่จะตีบแคบได้ง่ายขึ้นและมากขึ้นอย่างรุนแรงกว่าการตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นที่ความหลากหลายชนิดอื่นๆ การตอบสนองที่รวดเร็วของหลอดลมเป็นคุณลักษณะที่สำคัญของโรคหอบหืด จะพบได้บ่อยในหมู่นักกีฬาที่ต้องใช้ความทนทาน  โดยเฉพาะอย่างยิ่งนักกีฬาที่แข็งขันกันในฤดูหนาวและนักว่ายน้ำ
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-Diagnosing asthma and bronchoconstriction in athletes
-Management of Asthma and Bronchoconstriction in Athletes
   Nonpharmacologic Measures
   Pharmacotherapy
-Antidoping Regulations
-Conclusions
-Source Information

อ้างอิงและอ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMra1407552

วันพุธที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

3,100 คู่มือฉบับนักปฏิบัติการใช้สถิติในงานทางด้านระบาดวิทยา

โดย จมาภรณ์ ใจภักดี, รัชนี นันทนุช, ปิยธิดา ภูตาไชย
กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 6 จังหวัดขอนแก่น

เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
1. Basic Epidemiology
2. การศึกษาทางระบาดวิทยา (Epidemiological Study)
3. สถิติเบื้องต้นและการวัดทางระบาดวิทยา

ลิ้งค์ http://db.kmddc.go.th/download.aspx?id=1400&fileid=2942&exturl=

วันอังคารที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

3,099 Spot diagnosis: ชาย 58 ปี มาด้วยความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง ชักเก็รง ผล CT brain เป็นดังภาพ

ชาย 58 ปี มาด้วยความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง ชักเก็รง ผล CT brain เป็นดังภาพ จะให้การวินิจฉัยอะไร


ขอขอบคุณสำหรับคำตอบที่ร่วมเรียนรู้ครับ
ผลอ่านเอกซเรย์คอมพิวเตอร์พบมี brain stem infarction ทางด้านขวาจริงครับ

วันจันทร์ที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

3,098 รายงานการพยากรณ์โรคไข้เลือดออก พ.ศ. 2558

โดยสำนักโรคติดต่อโดยแมลง สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค



นื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-บทนำ
-วัตถุประสงค์
-วิธีการพยากรณ์
-ผลการพยากรณ์
-สรุปผลการพยากรณ์และการอภิปลายผล
-ข้อจำกัดของการพยากรณ์
-ข้อเสนอแนะ
-ภาคผนวก
-เอกสารอ้างอิง

ลิ้งค์ https://drive.google.com/file/d/0B8Zl4XfjQfmFLUxLQVI4SjJzeFk/view

วันอาทิตย์ที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

3,097 แบบคัดกรองและคำแนะนำสำหรับผู้มารับบริการวัคซีนป้องกันโรคคอตีบ – บาดทะยัก

โดย กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน สำนักโรคติดต่อทั่วไป 
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
 


วันเสาร์ที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

3,096 รายงานการพยากรณ์โรค ไข้เลือดออก พ.ศ. 2558

โดยสำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค



เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-บทนำ
-วัตถุประสงค์
-วิธีการพยากรณ์
-ผลการพยากรณ์
-สรุปผลการพยากรณ์และอภิปรายผล
-ข้อจำกัดของการพยากรณ์
-ข้อเสนอแนะ
-ภาคผนวก
-เอกสารอ้างอิง

ลิ้งค์ https://drive.google.com/file/d/0B8Zl4XfjQfmFLUxLQVI4SjJzeFk/view

วันศุกร์ที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

3,095 การศึกษาวิจัยการเปรียบเทียบการแปลผลตรวจคัดกรองโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา ระหว่างบุคลากรที่ผ่านการอบรม และจักษุแพทย์

โดย
พรทิพย์ ปรีชาไชยวิทย์
รัชนีบูลย์ อุดมชัยรัตน์
สมเกียรติ โพธิศัตย์
เนติมา คูนีย์
สุรีพร คนละเอียด
ซึ่งผลสรุปของการศึกษามีดังนี้
บุคลากรที่ผ่านการอบรมและฝึกฝนสามารถตรวจคัดกรองโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตาได้ อย่างไรก็ตามไม่สามารถทดแทนการตรวจตาอย่างละเอียดโดยจักษูแพทย์ได้ ทั้งนี้ควรติดตามตรวจสอบความถูกต้องของการอ่านผลของช่างถ่ายภาพจอประสาทตาเป็นระยะ วิธีตรวจสอบที่ใช้ในการศึกษานี้เป็นทางเลือกหนึ่งที่นำไปใช้ได้ง่าย และเป็นวิที่คำนึงถึงประโยชน์ของผู้ป่วยเป็นหลัก การตรวจสอบเพิ่มเติมอื่นๆ ควรพิจารณาตามความเหมาะสม เพื่อช่วยให้แพทย์ บุคลากรทางการแพทย์ และผู้จัดการระบบสุขภาพ รักษาคุณภาพการบริการ ลดความเสี่ยงต่แการเกิดความผิดพลาด ค้นหาข้อผิดพลาดและแก้ไขข้อผิดพลาดอย่างมีประสิทธิภาพและทันท่วงที พัฒนาศักยภาพอย่างต่อเนื่อง และกำหนดมาตรฐานการทำงาน ทั้งนี้ควรมีการศึกษาเพิ่มเติม ถึงปัจจัยที่ส่งผลต่อความผิดพลาดในการอ่านภาพถ่ายจอประสาทตา เพื่อนำข้อมูลที่ได้ไปพัฒนางานต่อไป

อ้างอิงและอ่านต่อโดยละเอียด http://www.dms.moph.go.th/imrta/images/23177-29649-1-PB.pdf

วันพฤหัสบดีที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

3,094 Acid–base problems in diabetic ketoacidosis

Review article
Disorders of fluids and electrolytes
N Engl J Med     February 5, 2015

ในบทความนี้มุ่งเน้นไปที่สามประเด็นอันเกี่ยวข้องกับแพทย์ที่ดูแลผู้ป่วยที่เป็น diabetic ketoacidosis; ในทุกปัญหาที่เกี่ยวข้องกับความผิดปกติของกรด-เบส ประเด็นแรกคือการใช้ plasma anion gap และการคำนวณอัตราส่วนของการเปลี่ยนแปลงใน gap เพื่อที่จะให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของไบคาร์บอเนตในพลาสม่าในผู้ป่วย  ในประเด็นสองจะมุ่งเน้นเกี่ยวกับการให้โซเดียมไบคาร์บอเนต และประเด็นสุดท้ายคือความเป็นไปได้ของกรดภายในเซลล์มีส่วนร่วมในการนำไปสู่การเกิดภาวะสมองบวมโดยเฉพาะอย่างยิ่งในเด็กที่เป็น diabetic ketoacidosis ซึ่งในบทความนี้ได้ตรวจสอบข้อมูลที่มีอยู่และพยายามที่จะบูรณาการข้อมูลกับหลักการของสรีรวิทยาและการควบคุมเมตาโบลิซมและให้แนวทางในด้านคลินิก

เนื้อหาโดยละเอียดประกอบไปด้วย
-Acid–base problems in diabetic ketoacidosis
-N Engl J Med February 5, 2015
-Plasma Bicarbonate and the Plasma anion gap
-Treatment with Sodium Bicarbonate
-Cerebral Edema during Treatment
-Summary
-Source Information

อ้างอิงและอ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMra1207788

วันพุธที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

3,093 ผู้ป่วยชาย 52 ปี มาด้วยบวมทั้งตัวสุดท้ายน่าจะเป็นโรคหนังแข็ง

ผู้ป่วยชาย 52 ปี มาด้วยบวมทั่วทั้งตัวประมาณ 1 เดือน ถามประวัติไม่เหนื่อยหอบ ปัสสาวะออกดี รับประทานได้ น้ำหนักเท่าเดิม ไม่มีไข้ ตรวจร่างกายก็พบว่ามีบวมทั้งตัวจริง ผลตรวจเลือดและเอกซเรย์ปอดไม่พบสาเหตุที่ชัดเจน ตรวจสอบเรื่องน้ำหนัก น้ำหนักก็เท่าๆ เดิม เมื่อดูผิวหนังโดยละเอียดพบว่า ดูบวมจริงแต่มีผิวหนังมีลักษณะตึงหนา (skin thickness) ทั้งตัวรวมถึงนิ้วมือตึงจนเราไม่สามารถจับผิวหนังและชั้นผิวหนังขึ้นมาได้เหมือนในคนทั่วไป (sclerodactyly) มีมือเย็นออกสีม่วงทั้งสองข้าง  CXR เริ่มมีลักษณะของ interstitia infiltration ทำให้คิดถึงโรคหนังแข็ง (systemic sclerosis, scleroderma) และได้ส่งเลือดเพื่อตรวจยืนยันการวินิจฉัย โดยได้ส่งตรวจ anticentromer 3, anti scl 70 ไว้ด้วย
ฉนั้นถ้าพบผู้ป่วยที่มาด้วยร่วมบวมและไม่สามารถหาสาเหตุได้ชัดเจนอย่าลืมคิดถึงโรคหนังแข็งไว้ด้วยนะครับ

วันอังคารที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

3,092 เกณฑ์และแนวทางการตรวจรับรองมาตรฐานการรักษาโดยการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2557

จัดทำโดยคณะอนุกรรมการตรวจรับรองมาตรฐานการรักษาโรคโดยการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม (ตรต) ราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทย  สมาคมโรคไต และแพทยสภา



วันจันทร์ที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

3,091 Spot diagnosis: EKG monitor ผู้ป่วยชาย 46 ปี

EKG monitor ผู้ป่วยชาย 46 ปี จะให้การวินิจฉัยอะไร?


จากรูปเป็นแผ่น EKG monitor ที่มีลักษณะของ wide complex tachycardia อัตราเร็วมากกว่า 300 /min ซึ่งเป็นลักษณะของ ventricular tachycardia ทีสามารถตรวจพบได้และเป็นอยู่ชั่วคราวก่อนจะกลับมาเป็น EKG ที่มีลักษณะ QRS complex แคบตามปกติครับ 


วันอาทิตย์ที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

3,090 คู่มือประเมินการดำเนินงานคลินิก NCD คุณภาพ ปีงบประมาณ 2558

คู่มือประเมินการดำเนินงานคลินิก NCD คุณภาพปีงบประมาณ 2558
โดยสำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค


ลิ้งค์