เพื่อการเรียนรู้ medicine และสุขภาพที่ดีของประชาชน (community hospital) * เดิมคือ Phimaimedicine.blogspot.com * ตอนนี้มาปฏิบัติงานอยู่ที่ รพ. ขนอม นครศรีธรรมราชครับ
หน้าเว็บ
▼
วันเสาร์ที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2558
3,089 หนังสือ หลักสูตรเชิงปฏิบัติการสำหรับเจ้าหน้าที่สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
โดยสถาบันวัคซีนแห่งชาติ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
วันศุกร์ที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2558
3,088 Thailand Medical Services Profile 2011-2014 (การแพทย์แผนไทย 2554-2557) First Edition
Thailand Medical Services Profile 2011-2014 (การแพทย์แผนไทย 2554-2557) First Edition
เป็นหนังสือที่รวบรวมสถานการณ์และแนวทางการพัฒนาการแพทย์ของประเทศ
เป็นหนังสือที่รวบรวมสถานการณ์และแนวทางการพัฒนาการแพทย์ของประเทศ
วันพฤหัสบดีที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2558
3,087 Allergic rhinitis
Clinical practice
N Engl J Med January 29, 2015
-ประมาณ 15-30% ของผู้ป่วยในประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ (allergic rhinitis) เป็นสภาวะที่มีผลต่อการทำงานและคุณภาพชีวิตในเด็กและผู้ใหญ่
-มักจะพบร่วมกับโรคหอบหืดและโรคภูมิแพ้อื่น ๆ โดยคนส่วนใหญ่ที่เป็นโรคหอบหืดจะมีโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้
-การให้กลูโคคอร์ติคอยด์เข้าทางจมูก จะเป็นรักษาที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด ยาต้านฮิสตามีนแบบรับประทานและให้ทางจมูก รวมถึง leukotriene-receptor antagonists ต่อมา อย่างไรก็ตามผู้ป่วยจำนวนมากไม่ได้รับการบรรเทาด้วยการให้ยาอย่างเพียง
-การรักษาด้วยการฉีดยาเพื่อปรับภูมิคุ้มกัน (allergen immunotherapy) ควรใช้ในผู้ป่วยที่ยังงมีอาการหรือในผู้ที่ไม่สามารถทนต่อผลข้างเคียงของยาได้
-ปัจจุบันมีการรักษาด้วยการฉีดยาเพื่อปรับภูมิคุ้มกันสองรูปคือ การฉีดใต้ผิวหนัและชนิดเม็ดละลายอย่างรวดเร็วเมื่ออมใต้ลิ้น ซึ่งชนิดหลังนั้ในประเทศสหรัฐอเมริกาใช้เพื่อการรักษาโรคภูมิแพ้หญ้าและละอองเกสร (grass and ragweed allergy) ทั้งสองรูปแบบของการรักษาโดยทั่วยังคงมีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่องหลังจากที่หยุดการรักษา
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-The Clinical Problem
-Strategies and Evidence
Diagnosis
Treatment
Areas of Uncertainty
Guidelines
-Conclusions and Recommendations
-Key Clinical Points
-Source Information
อ้างอิงและอ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMcp1412282
N Engl J Med January 29, 2015
-ประมาณ 15-30% ของผู้ป่วยในประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ (allergic rhinitis) เป็นสภาวะที่มีผลต่อการทำงานและคุณภาพชีวิตในเด็กและผู้ใหญ่
-มักจะพบร่วมกับโรคหอบหืดและโรคภูมิแพ้อื่น ๆ โดยคนส่วนใหญ่ที่เป็นโรคหอบหืดจะมีโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้
-การให้กลูโคคอร์ติคอยด์เข้าทางจมูก จะเป็นรักษาที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด ยาต้านฮิสตามีนแบบรับประทานและให้ทางจมูก รวมถึง leukotriene-receptor antagonists ต่อมา อย่างไรก็ตามผู้ป่วยจำนวนมากไม่ได้รับการบรรเทาด้วยการให้ยาอย่างเพียง
-การรักษาด้วยการฉีดยาเพื่อปรับภูมิคุ้มกัน (allergen immunotherapy) ควรใช้ในผู้ป่วยที่ยังงมีอาการหรือในผู้ที่ไม่สามารถทนต่อผลข้างเคียงของยาได้
-ปัจจุบันมีการรักษาด้วยการฉีดยาเพื่อปรับภูมิคุ้มกันสองรูปคือ การฉีดใต้ผิวหนัและชนิดเม็ดละลายอย่างรวดเร็วเมื่ออมใต้ลิ้น ซึ่งชนิดหลังนั้ในประเทศสหรัฐอเมริกาใช้เพื่อการรักษาโรคภูมิแพ้หญ้าและละอองเกสร (grass and ragweed allergy) ทั้งสองรูปแบบของการรักษาโดยทั่วยังคงมีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่องหลังจากที่หยุดการรักษา
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-The Clinical Problem
-Strategies and Evidence
Diagnosis
Treatment
Areas of Uncertainty
Guidelines
-Conclusions and Recommendations
-Key Clinical Points
-Source Information
อ้างอิงและอ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMcp1412282
วันพุธที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2558
3,086 การใช้ Glasgow Blatchford score เพื่อประเมินผู้ป่วยที่มีภาวะเลือดออกทางเดินอาหารส่วนต้น
Glasgow Blatchford score มีการใช้เพื่อประเมิน-ทำนายความรุนแรงและความเสี่ยงในการมีเลือดออกซ้ำกันอย่างแพร่หลาย ช่วยในการตัดสินใจให้การดูแลรักษาโดยเฉพาะการตัดสินใจว่าจะต้องส่องกล้องตรวจทางเดินอาหารหรือมีการรักษาใดๆ เพิ่มเข้ามา รวมทั้งสามารถช่วยในการตัดสินใจว่าจะรับผู้ป่วยไว้ในแผนกอายุรกรรมหรือศัลยกรรมได้อีกด้วย ซึ่งในบางแนวทางจะแยกโดยคะแนนที่มากกว่า 0 ถือว่าเป็นกลุ่มเสี่ยงสูง แต่เมื่อมาดูในการศึกษานี้ซึ่งทำในโรงพยาบาลเพชรบูรณ์พบว่าถ้าใช้ที่ระดับคะแนแน 0 จะมีความไว 99%, ความจำเพาะ 5.6% แต่ถ้าเปลี่ยนมาใช้ระดับคะแนนที่ 6 ขึ้นไป จะได้ความไว 87.7%, ความจำเพาะ 25.9% ซึ่งน่าจะเป็นจุดที่มีความเหมาะสมในการนำมาใช้ในเชปฏิบัติ
Ref: การศึกษาวิจัย ความสัมพันธ์ของ Glasgow Blatchford Score กับผลลัพธ์ของผู้ป่วยภาวะเลือดออกทางเดินอาหารส่วนบนในโรงพยาบาลเพชรบูรณ์
ตารางแสดง Glasgow Blatchford score
Click ที่ภาพเพื่อขยายขนาด
Ref: การศึกษาวิจัย ความสัมพันธ์ของ Glasgow Blatchford Score กับผลลัพธ์ของผู้ป่วยภาวะเลือดออกทางเดินอาหารส่วนบนในโรงพยาบาลเพชรบูรณ์
วันอังคารที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2558
3,085 Spot diagnosis: หญิง 46 ปี มีประวัติขาข้างซ้ายบวมเมื่อ 1 ปีก่อน แต่สามเดือนที่ผ่านมามีขาขวาบวมอีก
หญิง 46 ปี มีประวัติขาข้างซ้ายบวมเมื่อ 1 ปีก่อน ขายุบบวมเกือบหมดแล้ว แต่สามเดือนที่ผ่านมามีขาขวาบวมอีก จากรูปทำให้คิดถึงอะไร?
ในภาวะที่เกิด deep venous thrombosis จะเกิดมี deep venous insufficiency ได้ โดยอาจจะมีลักษณะของ chronic leg swelling, skin hardening, postthrombotic pigmentation, skin ulcer ได้ ในผู้ป่วยท่านนี้ได้รับการการตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงในช่วงที่เกิดมีขาบวมทั้งสองครั้ง ผลช่วยยืนยันวามี deep venous thrombosis จริง
วันจันทร์ที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2558
3,084 หลักการใช้ยาปฏิชีวนะในเวชปฏิบัติทั่วไป
ผศ.นพ.กำธร มาลาธรรม หน่วยโรคติดเชื้อและระบาดวิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล โรงพยาบาลรามาธิบดี
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-ข้อควรคำนึงถึงในการให้ยาปฏิชีวนะ
-ข้อมูลสังเขปเกี่ยวกับยาปฏิชีวนะ
-ยาปฏิชีวนะกลุ่ม Beta-lactams และยาอื่นที่มีโครงสร้างคล้ายกัน
-ยาที่ยับยั้งการสังเคราะห์สารตั้งต้นในกระบวนการสังเคราะห์กรดนิวคลิอิก
-ยาที่ขัดขวางกระบวนการแบ่งตัวและการถอดรหัสพันธุกรรม
-Empirical therapy
-เอกสำรอ้างอิง
-ตารางยาปฏิชีวนะที่ใช้ในการรักษาเบื้องต้นสำหรับโรคติดเชื้อที่พบบ่อย
ลิ้งค์ Click
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-ข้อควรคำนึงถึงในการให้ยาปฏิชีวนะ
-ข้อมูลสังเขปเกี่ยวกับยาปฏิชีวนะ
-ยาปฏิชีวนะกลุ่ม Beta-lactams และยาอื่นที่มีโครงสร้างคล้ายกัน
-ยาที่ยับยั้งการสังเคราะห์สารตั้งต้นในกระบวนการสังเคราะห์กรดนิวคลิอิก
-ยาที่ขัดขวางกระบวนการแบ่งตัวและการถอดรหัสพันธุกรรม
-Empirical therapy
-เอกสำรอ้างอิง
-ตารางยาปฏิชีวนะที่ใช้ในการรักษาเบื้องต้นสำหรับโรคติดเชื้อที่พบบ่อย
ลิ้งค์ Click
วันอาทิตย์ที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2558
วันเสาร์ที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2558
3,082 ปัจจัยที่ทำให้ภาวะหัวใจล้มเหลวเป็นมากขึ้น
สาเหตุจากหัวใจ (cardiac causes)
- ภาวะหัวใจเต้นเร็ว
- ภาวะหัวใจเต้นช้า
- กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดหรือกล้ามเนื้อหัวใจตาย
- โรคลิ้นหัวใจ
สาเหตุอื่นที่ไม่ใช่หัวใจ (non-cardiac causes)
- ขาดการควบคุมและดูแลในเรื่องเกลือ น้ำ และยา
- ได้รับยาร่วมที่มีฤทธิ์ cardiotoxicity หรือยากลุ่ม NSAIDs, COX-2 inhibitors
- ภาวะติดเชื้อ
- การบริโภคแอลกอฮอล์เกินควร
- การทำงานของไตผิดปกติ
- ภาวะลิ่มเลือดอุดตันในปอด
- ความดันโลหิตสูง
- ต่อมไทรอยด์ทำงานผิดปกติ
- ภาวะโลหิตจาง
Ref: แนวทางเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษาภาวะหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557
- ภาวะหัวใจเต้นเร็ว
- ภาวะหัวใจเต้นช้า
- กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดหรือกล้ามเนื้อหัวใจตาย
- โรคลิ้นหัวใจ
สาเหตุอื่นที่ไม่ใช่หัวใจ (non-cardiac causes)
- ขาดการควบคุมและดูแลในเรื่องเกลือ น้ำ และยา
- ได้รับยาร่วมที่มีฤทธิ์ cardiotoxicity หรือยากลุ่ม NSAIDs, COX-2 inhibitors
- ภาวะติดเชื้อ
- การบริโภคแอลกอฮอล์เกินควร
- การทำงานของไตผิดปกติ
- ภาวะลิ่มเลือดอุดตันในปอด
- ความดันโลหิตสูง
- ต่อมไทรอยด์ทำงานผิดปกติ
- ภาวะโลหิตจาง
Ref: แนวทางเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษาภาวะหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557
วันศุกร์ที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2558
3,081 ข้อควรทราบเกี่ยวกับการใช้คอร์ติโคสเตียรอยด์ในรักษาโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์
ข้อบ่งชี้ได้แก่
-มีข้ออักเสบรุนแรง คือ มีภาวะทุพพลภาพจนไม่สามารถประกอบกิจวัตรประจำวันหรือประกอบอาชีพได้
-ผู้ป่วยไม่ตอบสนองต่อยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์
-ผู้ป่วยมีข้อห้ามของการใช้ยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ เช่น ไตเสื่อม ตับเสื่อม เป็นต้น
ขนาดที่แนะนำคือ prednisolone เท่ากับหรือน้อยกว่า 7.5 มิลลิกรัมต่อวัน
เมื่ออาการดีขึ้น ควรพิจารณาหยุดยาหรือลดขนาดสเตียรอยด์ลงจนเหลือขนาดต่ำสุดเพื่อหลีกเลี่ยงภาวะแทรกซ้อน
Ref: แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
-มีข้ออักเสบรุนแรง คือ มีภาวะทุพพลภาพจนไม่สามารถประกอบกิจวัตรประจำวันหรือประกอบอาชีพได้
-ผู้ป่วยไม่ตอบสนองต่อยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์
-ผู้ป่วยมีข้อห้ามของการใช้ยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ เช่น ไตเสื่อม ตับเสื่อม เป็นต้น
ขนาดที่แนะนำคือ prednisolone เท่ากับหรือน้อยกว่า 7.5 มิลลิกรัมต่อวัน
เมื่ออาการดีขึ้น ควรพิจารณาหยุดยาหรือลดขนาดสเตียรอยด์ลงจนเหลือขนาดต่ำสุดเพื่อหลีกเลี่ยงภาวะแทรกซ้อน
Ref: แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
วันพฤหัสบดีที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2558
3,080 Origins of cystic fibrosis lung disease
Review article
N Engl J Med January 22, 2015
ในระดับพื้นฐานเราทราบกันว่า cystic fibrosis มีสาเหตุมาจากพันธุกรรม เป็นโรค autosomal recessive ที่เกิดจากการกลายพันธุ์ในยีนที่เข้ารหัส (gene encoding) ของ cystic fibrosis transmembrane conductance regulator (CFTR)
ในระดับคลินิก เราทราบว่าการติดเชื้อทางเดินหายใจเรื้อรังจากแบคทีเรีย, การอักเสบที่มีนิวโทรฟิวเด่นและเมือกในทางเดินหายใจ และโรคหลอดลมโป่งพองที่มีการดำเนินโรคมากจนมีลักษณะเป็น cystic fibrosis เป็นสาเหตุของการเจ็บป่วยและการเสียชีวิตมากที่สุดในผู้ที่มีเป็น cystic fibrosis
ในระหว่างทั้งสองอย่างคือ การที่การสูญเสีย CFTR-mediated chloride และ bicarbonate transport นำไปสู่การติดเชื้อทางเดินหายใจเรื้อรังยังคงมีความไม่ชัดเจน
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-New Animal Models That Mirror Cystic Fibrosis in Humans
-Loss of CFTR Function and Congenital Airway Abnormalities
-Reduced Chloride Secretion, Not Sodium Hyperabsorption
-Loss of CFTR and Reduced pH of Airway-Surface Liquid
-Airway Infection Preceding Lung Inflammation
-Acidic Airway-Surface Liquid That Impairs Bacterial Killing
-Failure of Mucus to Detach from Submucosal Gland Ducts
-Additional Implications and Speculations
-Source Information
อ้างอิงและอ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMra1300109
N Engl J Med January 22, 2015
ในระดับพื้นฐานเราทราบกันว่า cystic fibrosis มีสาเหตุมาจากพันธุกรรม เป็นโรค autosomal recessive ที่เกิดจากการกลายพันธุ์ในยีนที่เข้ารหัส (gene encoding) ของ cystic fibrosis transmembrane conductance regulator (CFTR)
ในระดับคลินิก เราทราบว่าการติดเชื้อทางเดินหายใจเรื้อรังจากแบคทีเรีย, การอักเสบที่มีนิวโทรฟิวเด่นและเมือกในทางเดินหายใจ และโรคหลอดลมโป่งพองที่มีการดำเนินโรคมากจนมีลักษณะเป็น cystic fibrosis เป็นสาเหตุของการเจ็บป่วยและการเสียชีวิตมากที่สุดในผู้ที่มีเป็น cystic fibrosis
ในระหว่างทั้งสองอย่างคือ การที่การสูญเสีย CFTR-mediated chloride และ bicarbonate transport นำไปสู่การติดเชื้อทางเดินหายใจเรื้อรังยังคงมีความไม่ชัดเจน
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-New Animal Models That Mirror Cystic Fibrosis in Humans
-Loss of CFTR Function and Congenital Airway Abnormalities
-Reduced Chloride Secretion, Not Sodium Hyperabsorption
-Loss of CFTR and Reduced pH of Airway-Surface Liquid
-Airway Infection Preceding Lung Inflammation
-Acidic Airway-Surface Liquid That Impairs Bacterial Killing
-Failure of Mucus to Detach from Submucosal Gland Ducts
-Additional Implications and Speculations
-Source Information
อ้างอิงและอ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMra1300109
วันพุธที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2558
3,079 Secondary cause of obesity
พบผู้ป่วยหญิงซึ่งอายุไม่มากและมีนำหนักมากกว่า 200 กก. ทั้งๆ ที่การปฏิบัติตัวก็เหมือนกับคนทั่วๆ ไป จึงมาทบทวนเกี่ยวกับสาเหตุที่เป็น secondary cause พบว่ามีดังนี้
-Thyroid hormone (hypothyroidism)
-Polycystic ovarian syndrome (PCOS)
-Cushing's disease (hypercortisolism)
-Hypothalamic injury or disorders
-Genetic mutations
-Drug: corticosteroids, psychotropic drugs, anti-retroviral agents, thiazolidinediones
การวินิจฉัยโดยใช้ประวัติ ตรวจร่างกาย และการตรวจทางห้องปฏิบัติการในสาเหตุที่สงสัย
Ref: http://www.hopkinsmedicine.org/digestive_weight_loss_center/conditions/secondary_obesity.html
http://www.gpnotebook.co.uk/simplepage.cfm?ID=x20070413154642478210
-Thyroid hormone (hypothyroidism)
-Polycystic ovarian syndrome (PCOS)
-Cushing's disease (hypercortisolism)
-Hypothalamic injury or disorders
-Genetic mutations
-Drug: corticosteroids, psychotropic drugs, anti-retroviral agents, thiazolidinediones
การวินิจฉัยโดยใช้ประวัติ ตรวจร่างกาย และการตรวจทางห้องปฏิบัติการในสาเหตุที่สงสัย
Ref: http://www.hopkinsmedicine.org/digestive_weight_loss_center/conditions/secondary_obesity.html
http://www.gpnotebook.co.uk/simplepage.cfm?ID=x20070413154642478210
วันอังคารที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2558
3,078 Spot diagnosis: EKG ของผู้ป่วยหญิง 68 ปี
EKG ของผู้ป่วยหญิง 68 ปี จังหวะหัวใจ (rhythm) ของผู้ป่วยนี้คืออะไร?
วันจันทร์ที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2558
3,077 คู่มือนิยามศัพท์เกี่ยวกับระบบคุณภาพห้องปฏิบัติการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
จัดทำโดยสำนักมาตรฐานห้องปฏิบัติการ
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
วันอาทิตย์ที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2558
3,076 แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
โดยสมาคมรูมาติสซั่มแห่งประเทศไทย
วันเสาร์ที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2558
3,075 แนวทางปฏิบัติของแพทย์เกี่ยวกับเอชไอวี พ.ศ.2557
โดยแพทยสภา
เนื่องจากปัจจุบันมีความก้าวหน้าในทางวิชาการด้านความรู้เกี่ยวกับการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี และผู้ป่วยเอดส์ มียาต้านไวรัสประสิทธิภาพสูงซึ่งหน่วยงานของรัฐจัดสรรให้แก่ผู้ติดเชื้อเอชไอวีอย่างพอเพียง ทำให้ผู้ติดเชื้อเอชไอวี มีสุขภาพแข็งแรงเหมือนคนทั่วไป โดยเฉพาะหากผู้ติดเชื้อได้รับการรักษาโดยเร็วจะมีชีวิตยืนยาว สามารถป้องกันการส่งผ่านเชื้อเอชไอวีไปถึงผู้อื่นได้ และอาจมีโอกาสหายขาดได้ถ้าได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสอย่างเหมาะสมตั้งแต่ตั้งแต่ระยะติดเชื้อใหม่ๆ ทำให้การวินิจฉัยการติดเชื้อได้อย่างรวดเร็วที่สุด มีความสำคัญต่อการดูแล รักษา ป้องกัน และการควบคุมการติดเชื้อเอชไอวี จึงมีความจำเป็นที่จะต้องให้บุคคลทุกคนเข้าถึงการรับบริการ คณะกรรมการแพทยสภาในการประชุมครั้งที่ 9 /2557 วันที่ 11 กันยายน 2557 มติเห็นชอบ แนวทางปฏิบัติของแพทย์เกี่ยวกับเอชไอวี 2557 เพื่อให้คนทุกกลุ่มวัยได้เข้าถึงบริการการตรวจและรักษาการติดเชื้อเอชไอวี โดยไม่จำกัดอายุ
เนื่องจากปัจจุบันมีความก้าวหน้าในทางวิชาการด้านความรู้เกี่ยวกับการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี และผู้ป่วยเอดส์ มียาต้านไวรัสประสิทธิภาพสูงซึ่งหน่วยงานของรัฐจัดสรรให้แก่ผู้ติดเชื้อเอชไอวีอย่างพอเพียง ทำให้ผู้ติดเชื้อเอชไอวี มีสุขภาพแข็งแรงเหมือนคนทั่วไป โดยเฉพาะหากผู้ติดเชื้อได้รับการรักษาโดยเร็วจะมีชีวิตยืนยาว สามารถป้องกันการส่งผ่านเชื้อเอชไอวีไปถึงผู้อื่นได้ และอาจมีโอกาสหายขาดได้ถ้าได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสอย่างเหมาะสมตั้งแต่ตั้งแต่ระยะติดเชื้อใหม่ๆ ทำให้การวินิจฉัยการติดเชื้อได้อย่างรวดเร็วที่สุด มีความสำคัญต่อการดูแล รักษา ป้องกัน และการควบคุมการติดเชื้อเอชไอวี จึงมีความจำเป็นที่จะต้องให้บุคคลทุกคนเข้าถึงการรับบริการ คณะกรรมการแพทยสภาในการประชุมครั้งที่ 9 /2557 วันที่ 11 กันยายน 2557 มติเห็นชอบ แนวทางปฏิบัติของแพทย์เกี่ยวกับเอชไอวี 2557 เพื่อให้คนทุกกลุ่มวัยได้เข้าถึงบริการการตรวจและรักษาการติดเชื้อเอชไอวี โดยไม่จำกัดอายุ
โดยมีรายละเอียดตามลิงค์ด้านล่างนี้
Click
Click
วันศุกร์ที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2558
3,074 Spot diagnosis: ชาย 36 ปี เป็นโรคสะเก็ดเงิน รับการรักษาต่อเนื่อง แต่พบว่ามีตุ่มขึ้นที่บริเวณหลังดังภาพ
ชาย 36 ปี เป็นโรคสะเก็ดเงิน รับการรักษาต่อเนื่อง แต่พบว่ามีตุ่มขึ้นที่บริเวณหลังดังภาพ จากรอยโรคคิดถึงอะไรและจะให้การรักษาอย่างไร?
ขอขอบคุณสำหรับคำตอบที่ร่วมเรียนรู้ครับ
ผู้ป่วยรักษาสะเก็ดเงินโดยมียา methotrexate และ prednisolone และ topical steroid cream จากข้อมูลทำให้คิดถึง steroid acne เป็นการอักเสบของรูขุมขนจากการใช้สเตียรอยด์อาจจะจากในรูปรับประทานหรือทาเฉพาะที่ โดยเฉพาะในกรณีที่ใช้ตั้งแต่ขนาดปานกลาง (moderate dose) ขึ้นไป และใช้ติดต่อกัน
เป็นเวลานานหลายสัปดาห์ มีลักษณะเป็นผื่นนูนคล้ายสิว มักเกิดที่บริเวณใบหน้า หน้าอก หลัง แขน โดยสามารถแบ่งได้เป็น 2 รูปแบบคือ
1. Acne vulgaris
2. Malassezia folliculitis
การรักษาคือ ถ้าเป็นไปได้ควรหยุดยาสเตียรอยด์ และให้รักษาตามชนิดรูปของ steroid acne ดังที่กล่าวไว้ข้างต้น โดยสามารถอ่านรายละเอียดได้ตามลิ้งค์ด้านล่างครับ
วันพฤหัสบดีที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2558
3,073 Multiple-system atrophy
Review article
N Engl J Med January 15, 2015
Multiple-system atrophy ที่เริ่มมีอาการในผู้ใหญ่ ( adult-onset) เป็นโรคของทางระบบประสาทที่ทำให้เสียชีวิตเนื่องจากมีลักษณะการล้มเหลวของระบบประสาทอัตโนมัติที่มีการดำเนินอย่างอย่างรวดเร็วโดยมีลักษณะ Parkinsonian, ความผิดปกติของ cerebellar และ pyramidal ที่มีลักษณะร่วมกันอย่างหลากหลาย โดยโรคนี้ถูกจัดเป็น parkinsonian subtype ถ้าพาร์กินโซนิซึม (parkinsonism)
เป็นลักษณะที่โดดเด่น และเป็น subtype ถ้า cerebellar เป็นลักษณะที่โดดเด่น ด้วยการมีลักษณะทางคลินิกที่หลากหลาย multiple-system atrophy มีความท้าทายในการวินิจฉัยเป็นอย่างมาก ไม่เพียงแต่ในระบบประสาทวิทยา แต่ยังรวมถึงระบบเฉพาะอื่น ๆ ด้วย ได้แก่ระบบหัวใจ, ระบบทางเดินอาหาร, ระบบทางเดินปัสสาวะ, โสตศอนาสิกและวิชาการแพทย์ด้านการนอนหลับ แม้จะมีการดำเนินโรคที่เร็วกว่าในระบบประสาทสั่งการ โรคนี้ยังอาจจะคล้ายกับเป็นโรคพาร์กินสันหรือ late-onset cerebellar ataxia ที่ไม่ทราบสาเหตุ จนกระทั่งการดำเนินโรคเป็นมากแล้ว
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-Epidemiologic Features
-Causes
-Neuropathological Features
-Pathogenesis
-Clinical Presentation
Motor Features
Nonmotor Features
Disease Progression and Prognosis
-Diagnosis
Clinical Diagnostic Criteria
Ancillary Investigations
-Principles of Therapy
Symptom Management
-Toward Disease Modification
-Source Information
ลิ้งค์และอ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMra1311488
N Engl J Med January 15, 2015
Multiple-system atrophy ที่เริ่มมีอาการในผู้ใหญ่ ( adult-onset) เป็นโรคของทางระบบประสาทที่ทำให้เสียชีวิตเนื่องจากมีลักษณะการล้มเหลวของระบบประสาทอัตโนมัติที่มีการดำเนินอย่างอย่างรวดเร็วโดยมีลักษณะ Parkinsonian, ความผิดปกติของ cerebellar และ pyramidal ที่มีลักษณะร่วมกันอย่างหลากหลาย โดยโรคนี้ถูกจัดเป็น parkinsonian subtype ถ้าพาร์กินโซนิซึม (parkinsonism)
เป็นลักษณะที่โดดเด่น และเป็น subtype ถ้า cerebellar เป็นลักษณะที่โดดเด่น ด้วยการมีลักษณะทางคลินิกที่หลากหลาย multiple-system atrophy มีความท้าทายในการวินิจฉัยเป็นอย่างมาก ไม่เพียงแต่ในระบบประสาทวิทยา แต่ยังรวมถึงระบบเฉพาะอื่น ๆ ด้วย ได้แก่ระบบหัวใจ, ระบบทางเดินอาหาร, ระบบทางเดินปัสสาวะ, โสตศอนาสิกและวิชาการแพทย์ด้านการนอนหลับ แม้จะมีการดำเนินโรคที่เร็วกว่าในระบบประสาทสั่งการ โรคนี้ยังอาจจะคล้ายกับเป็นโรคพาร์กินสันหรือ late-onset cerebellar ataxia ที่ไม่ทราบสาเหตุ จนกระทั่งการดำเนินโรคเป็นมากแล้ว
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-Epidemiologic Features
-Causes
-Neuropathological Features
-Pathogenesis
-Clinical Presentation
Motor Features
Nonmotor Features
Disease Progression and Prognosis
-Diagnosis
Clinical Diagnostic Criteria
Ancillary Investigations
-Principles of Therapy
Symptom Management
-Toward Disease Modification
-Source Information
ลิ้งค์และอ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMra1311488
วันพุธที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2558
3,072 หนังสือข้อเข่าเสื่อม
โดยสถาบันเวชศาสตร์สมเด็จพระสังฆราชญาณสังวรเพื่อผู้สูงอายุ
กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-คำจำกัดความโรคข้อเข่าเสื่อม
-ระบาดวิทยา
-ลักษณะปกติของกระดูกข้อต่อของข้อเข่า
-เข่าทำไมถึงเสื่อม
-ปัจจัยที่ทำให้เกิดข้อเข่าเสื่อม
-การวินิจฉัยโรคข้อเข่าเสื่อม
-การรักษา
การรักษาโดยวิธีไม่ใช้ยา
การรักษาโดยใช้ยา
การรักษาโดยการผ่าตัด
-การป้องกันข้อเข่าเสื่อม
กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-คำจำกัดความโรคข้อเข่าเสื่อม
-ระบาดวิทยา
-ลักษณะปกติของกระดูกข้อต่อของข้อเข่า
-เข่าทำไมถึงเสื่อม
-ปัจจัยที่ทำให้เกิดข้อเข่าเสื่อม
-การวินิจฉัยโรคข้อเข่าเสื่อม
-การรักษา
การรักษาโดยวิธีไม่ใช้ยา
การรักษาโดยใช้ยา
การรักษาโดยการผ่าตัด
-การป้องกันข้อเข่าเสื่อม
ลิงค์ คลิก
วันอังคารที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2558
3,071 คู่มือองค์ความรู้เรื่องโรคในผู้สูงอายุสำหรับบุลลากรสาธารณสุข
โดยสถาบันเวชศาสตร์สมเด็จพระสังฆราชญาณสังวรเพื่อผู้สูงอายุ
โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชญาณสังวรเพื่อผู้สูงอายุ จังหวัดชลบุรี
กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-โรคสมองเสื่อม
-โรคซึมเศร้า
-ภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
-ความผิดปกติของการนอนหลับในผู้สูงอายุ
-ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ในผู้สูงอายุ
-โรคเบาหวานในผู้สูงอายุ
-โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
-โรคข้อเข่าเสื่อม
โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชญาณสังวรเพื่อผู้สูงอายุ จังหวัดชลบุรี
กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-โรคสมองเสื่อม
-โรคซึมเศร้า
-ภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
-ความผิดปกติของการนอนหลับในผู้สูงอายุ
-ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ในผู้สูงอายุ
-โรคเบาหวานในผู้สูงอายุ
-โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
-โรคข้อเข่าเสื่อม
ลิ้งค์ คลิก
วันจันทร์ที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2558
3,070 คู่มือ NCD
เป็นเนื้อหาความรู้ที่เกี่ยวกับ กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (non-communicable disaese, NCD) ซึ่งเป็นโรคที่ก่อให้เกิดการเสียชีวิตสูง อันได้แก่ โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมองและหัวใจ โรคถุงลมโป่งพอง โรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคอ้วนลงพุง เนื้อหาน่าสนใจ สามารถนำมาใช้ในเวชปฏิบัติและการ
ให้ความรู้แก่ผู้ป่วย และญาติที่ดูแล
โดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
ให้ความรู้แก่ผู้ป่วย และญาติที่ดูแล
โดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
วันอาทิตย์ที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2558
3,069 การทบทวนวรรณกรรม สถานการณ์ปัจจุบันและรูปแบบการบริการด้านโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การทบทวนวรรณกรรม สถานการณ์ปัจจุบันและรูปแบบการบริการด้านโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
Literature Review: The current situation and care model of non-communicable diseases
โดยสถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยทางการแพทย์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
Literature Review: The current situation and care model of non-communicable diseases
โดยสถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยทางการแพทย์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
วันเสาร์ที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2558
3,068 แนวทางการวินิจฉัยและการรักษาโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย
แนวทางการวินิจฉัยและการรักษาโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย Clinical practice guidelines for diagnosis and management of thalassema syndromes)
โดยสถาบันสุขภาพแห่งชาติมหาราชินี
โดยสถาบันสุขภาพแห่งชาติมหาราชินี
วันศุกร์ที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2558
3,067 Spot diagnosis: EKG ของผู้ป่วยหญิงสูงอายุที่ซึมลง ก่อนจะเกิด cardiopulmonary arrest
EKG ของผู้ป่วยหญิงสูงอายุที่ซึมลง ก่อนจะเกิด cardiopulmonary arrest, จาก EKG นึกถึงภาวะใด จะให้การดูแลรักษาอย่างไร?
พบว่า EKG มีลักษณะ QRS กว้าง T wave สูงและแหลม P wave หายไป และพบว่า K = 8.6 mmol/L ดังนั้น EKG นี้จึงเป็นลักษณะของ hyperkalemia
วันพฤหัสบดีที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2558
3,066 Complicated grief
Clinical practice
N Engl J Med January 8, 2015
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบไปด้วย
-The Clinical Problem
Bereavement and Grief
Acute Grief
Adaptation to Loss
Complicated Grief
-Strategies and Evidence
Evaluation and Diagnosis
Risk Assessment
-Management
Psychotherapy
Pharmacotherapy
-Areas of Uncertainty
-Guidelines
-Conclusions and Recommendations
-Source Information
-ลักษณะอาการได้แก่ ความโศกเศร้าโหยหาที่รุนแรง, ความปรารถนา หรือความเจ็บปวดทางอารมณ์ความคิด, โดยมักจะคิดเห็นและระลึกความทรงจำของคนที่จากไป, เป็นความรู้สึกไม่เชื่อหรือไม่สามารถที่จะยอมรับการสูญเสีย และความยากลำบากในการจินตนาการถึงอนาคตโดยไม่มีคนที่จากไป
-ภาวะความโศกเศร้าแบบซับซ้อนเกิดขึ้นประมาณ 2-3% ของประชากรทั่วโลกและมีแนวโน้มมากขึ้นหลังจากการสูญเสีบุตรหรือคู่ชีวิตและหลังการเสียชีวิตอย่างกะทันหันรุนแรง
-การทดลองสุ่มแบบควบคุมให้การสนับสนุนถึงประสิทธิภาพของ targeted psychotherapy ต่อภาวะนี้ ร่วมกับกลยุทธ์ในการยอมรับการสูญเสียและการฟื้นฟูความรู้สึกของความเป็นไปได้ของความสุขในอนาคต
-การรักษาอื่น ๆ ได้แก่ จิตบำบัดรูปแบบอื่น ๆ ของ เช่นเดียวกับยายาต้านซึมเศร้า แม้ว่าการใช้ยาสำหรับภาวะนี้จะยังไม่ได้รับการศึกษาในการทดลองแบบสุ่ม
อ้างอิงและอ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMcp1315618
N Engl J Med January 8, 2015
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบไปด้วย
-The Clinical Problem
Bereavement and Grief
Acute Grief
Adaptation to Loss
Complicated Grief
-Strategies and Evidence
Evaluation and Diagnosis
Risk Assessment
-Management
Psychotherapy
Pharmacotherapy
-Areas of Uncertainty
-Guidelines
-Conclusions and Recommendations
-Source Information
Key Clinical Points
-ภาวะความโศกเศร้าแบบซับซ้อน (complicated grief) เป็นความผิดปกติอย่างรุนแรงและเป็นระยะเวลานานที่พบได้ไม่บ่อย และบั่นทอนการหน้าที่และการทำงานอย่างรุนแรง-ลักษณะอาการได้แก่ ความโศกเศร้าโหยหาที่รุนแรง, ความปรารถนา หรือความเจ็บปวดทางอารมณ์ความคิด, โดยมักจะคิดเห็นและระลึกความทรงจำของคนที่จากไป, เป็นความรู้สึกไม่เชื่อหรือไม่สามารถที่จะยอมรับการสูญเสีย และความยากลำบากในการจินตนาการถึงอนาคตโดยไม่มีคนที่จากไป
-ภาวะความโศกเศร้าแบบซับซ้อนเกิดขึ้นประมาณ 2-3% ของประชากรทั่วโลกและมีแนวโน้มมากขึ้นหลังจากการสูญเสีบุตรหรือคู่ชีวิตและหลังการเสียชีวิตอย่างกะทันหันรุนแรง
-การทดลองสุ่มแบบควบคุมให้การสนับสนุนถึงประสิทธิภาพของ targeted psychotherapy ต่อภาวะนี้ ร่วมกับกลยุทธ์ในการยอมรับการสูญเสียและการฟื้นฟูความรู้สึกของความเป็นไปได้ของความสุขในอนาคต
-การรักษาอื่น ๆ ได้แก่ จิตบำบัดรูปแบบอื่น ๆ ของ เช่นเดียวกับยายาต้านซึมเศร้า แม้ว่าการใช้ยาสำหรับภาวะนี้จะยังไม่ได้รับการศึกษาในการทดลองแบบสุ่ม
อ้างอิงและอ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMcp1315618
วันพุธที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2558
3,065 แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยถูกงูกัดและได้รับพิษจากสัตว์
โดย คลินิกพิษจากสัตว์ สถานเสาวภา สภากาชาดไทย
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
บทที่ 1 งูพิษที่สำคัญในประเทศไทย และวิธีแยกระหว่างงูพิษ และงูไม่มีพิษ
บทที่ 2 แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยถูกงูกัด
บทที่ 3 การดูแลรักษาและป้องกันการได้รับผิดจากสัตว์ที่มีความสำคัญทางการแพทย์
บทที่ 4 ข้อพิจารณาเป็นพิเศษในการดูแลผู้ป่วยเด็กที่ถูกงูกัด
บทที่ 5 ปัญหาที่พบบ่อยในการดูแลรักษาผู้ป่วยถูกงูกัด
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
บทที่ 1 งูพิษที่สำคัญในประเทศไทย และวิธีแยกระหว่างงูพิษ และงูไม่มีพิษ
บทที่ 2 แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยถูกงูกัด
บทที่ 3 การดูแลรักษาและป้องกันการได้รับผิดจากสัตว์ที่มีความสำคัญทางการแพทย์
บทที่ 4 ข้อพิจารณาเป็นพิเศษในการดูแลผู้ป่วยเด็กที่ถูกงูกัด
บทที่ 5 ปัญหาที่พบบ่อยในการดูแลรักษาผู้ป่วยถูกงูกัด
วันอังคารที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2558
3,064 หนังสือเรื่อง ผู้หญิง สารเสพติด และการตั้งครรภ์
เป็นองค์ความรู้เพื่อให้บุคลากรสุขภาพหรือผู้เกี่ยวข้องสามารถนำไปใช้ในการให้ความรู้และแนะนำได้ ขณะเดียวกันหญิงที่เตรียมตัวตั้งครรภ์ หญิงตั้งครรภ์และครอบครัว จะได้มีความรู้ความเข้าใจตระหนักถึงปัญหาและสามารถป้องกันและลดความเสี่ยงต่อสุขภาพของแม่และเด็กได้
วันจันทร์ที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2558
3,063 สุขภาพอนามัย ของผู้ทำงานกับคอมพิวเตอร์
โดยกองอาชีวอนามัย
กระทรวงสาธารณสุข
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับงาน VDTs
บทที่ 2 ปัญหาความเมื่อยล้า สาเหตุและมาตรการป้องกัน
บทที่ 3 การบริหารจัดการ
บทที่ 4 เกี่ยวกับสุขภาพอนามัย
กระทรวงสาธารณสุข
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับงาน VDTs
บทที่ 2 ปัญหาความเมื่อยล้า สาเหตุและมาตรการป้องกัน
บทที่ 3 การบริหารจัดการ
บทที่ 4 เกี่ยวกับสุขภาพอนามัย
วันอาทิตย์ที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2558
3,062 คู่มือการตรวจวิเคราะห์ชนิดและปริมาณฮีโมโกลบิน
จัดทำโดยคณะกรรมการจัดทำคู่มือการตรวจวิเคราะห์ชนิดและปริมาณฮีโมโกลบิน
ศูนย์วิจัยทางคลินิก กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
บทที่ 1 การตรวจวิเคราะห์ชนิดและปริมาณฮีโมโกลบิน
บทที่ 2 การตรวจวเคราะห์ฮีโมโกลบินผิดปกติทางห้องปฏิบัติการ
บทที่ 3 การแปลผลการตรวจวินิจฉัยธาลัสซีเมียและฮีโมโกลบินผิดปกติ ทางห้องปฏิบัติการ
ภาคผนวก ตารางผลการตรวจทางโลหิตวิทยาเบื้องต้น ในพาหะและผู้ป่วยธาลัสซีเมยชนิดต่างๆ
ลิงค์ http://webdb.dmsc.moph.go.th/thalassemia/Hb_Manual_2010.pdf
ศูนย์วิจัยทางคลินิก กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
บทที่ 1 การตรวจวิเคราะห์ชนิดและปริมาณฮีโมโกลบิน
บทที่ 2 การตรวจวเคราะห์ฮีโมโกลบินผิดปกติทางห้องปฏิบัติการ
บทที่ 3 การแปลผลการตรวจวินิจฉัยธาลัสซีเมียและฮีโมโกลบินผิดปกติ ทางห้องปฏิบัติการ
ภาคผนวก ตารางผลการตรวจทางโลหิตวิทยาเบื้องต้น ในพาหะและผู้ป่วยธาลัสซีเมยชนิดต่างๆ
ลิงค์ http://webdb.dmsc.moph.go.th/thalassemia/Hb_Manual_2010.pdf
วันเสาร์ที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2558
3,061 แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็งศีรษะและลำคอ
โดยศูนย์มะเร็งลพบุรี
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-ความสำคัญและวัตถุประสงค์
-แผนภูมิแสดงแนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็งศีรษะและคอ ศูนย์มะเร็งลพบุรี
-ขั้นตอนการปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็งศีรษะและคอ
ก. แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคมะเร็งศีรษะและคอ
Oral Cavity
Oropharynx
Nasopharynx
Hypopharynx
Glottic
Supraglottic
ข. แนวทางการให้คำปรึกษาผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ
ค. แนวทางการดูแลด้านทันตกรรมผู้ป่วยรังสีรักษา บริเวณช่องปาก ศีรษะและคอ
ง. แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอที่ได้รับรังสีรักษาโดยสหสาขาวิชาชีพ
จ. แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอที่ได้รับเคมีบำบัดโดยสหสาขาวิชาชีพ
ฉ. แนวทางการดูแลความเสี่ยงที่สำคัญในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอที่ได้รับรังสีรักษาและ / หรือ ยาเคมีบำบัด
ช. แนวทางการตรวจติดตามการรักษาผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ
-ภาคผนวก
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-ความสำคัญและวัตถุประสงค์
-แผนภูมิแสดงแนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็งศีรษะและคอ ศูนย์มะเร็งลพบุรี
-ขั้นตอนการปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็งศีรษะและคอ
ก. แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคมะเร็งศีรษะและคอ
Oral Cavity
Oropharynx
Nasopharynx
Hypopharynx
Glottic
Supraglottic
ข. แนวทางการให้คำปรึกษาผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ
ค. แนวทางการดูแลด้านทันตกรรมผู้ป่วยรังสีรักษา บริเวณช่องปาก ศีรษะและคอ
ง. แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอที่ได้รับรังสีรักษาโดยสหสาขาวิชาชีพ
จ. แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอที่ได้รับเคมีบำบัดโดยสหสาขาวิชาชีพ
ฉ. แนวทางการดูแลความเสี่ยงที่สำคัญในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอที่ได้รับรังสีรักษาและ / หรือ ยาเคมีบำบัด
ช. แนวทางการตรวจติดตามการรักษาผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ
-ภาคผนวก
ลิ้งค์ Click
วันศุกร์ที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2558
3,060 การคำนวณปริมาตรของก้อนเลือดในสมองจากภาพถ่ายเอกซเรย์คอมพิวเตอร์
สูตรคือ ปริมาตรก้อนเลือด (หน่วยเป็น ml) = 0.5 x กว้าง x ยาว x สูง (หน่วยเป็น cm)
ซึ่งกว้างและยาว วัดได้จาก scale ในภาพถ่ายเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ โดยวัดจาก cut ที่ก้อนเลือด diameter กว้างที่สุด
ส่วนความสูงคำนวณได้จากการนับจำนวน cut ใน film CT ที่พบมีเลือดออก โดยมีหน่วยเป็น 1 cm เช่นกัน
ยกตัวอย่างเช่น ผู้ป่วยมีเลือดออกดังในภาพด้านล่าง
ซึ่งเราสามารถวัดความกว้างและความยาวได้จากภาพคือ 1.887 cm. x 3.801 cm.
ส่วน CT นี้ตัด cut ละ 0.3 cm. (ความถี่ห่างของแต่ละภาพจะแตกต่างกันไป) เราตรวจดูพบว่ามีเลือดออกทั้งหมด 9 cut ก็เท่ากับ 2.7 cm.
นำมาคำนวน = 0.5 x 1.887 x 3.801 x 2.7 = 9.68 ml.
Ref: https://sites.google.com/site/neurosun/neurosurgeryemergencyforinternshippart7
ซึ่งกว้างและยาว วัดได้จาก scale ในภาพถ่ายเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ โดยวัดจาก cut ที่ก้อนเลือด diameter กว้างที่สุด
ส่วนความสูงคำนวณได้จากการนับจำนวน cut ใน film CT ที่พบมีเลือดออก โดยมีหน่วยเป็น 1 cm เช่นกัน
ยกตัวอย่างเช่น ผู้ป่วยมีเลือดออกดังในภาพด้านล่าง
ซึ่งเราสามารถวัดความกว้างและความยาวได้จากภาพคือ 1.887 cm. x 3.801 cm.
ส่วน CT นี้ตัด cut ละ 0.3 cm. (ความถี่ห่างของแต่ละภาพจะแตกต่างกันไป) เราตรวจดูพบว่ามีเลือดออกทั้งหมด 9 cut ก็เท่ากับ 2.7 cm.
นำมาคำนวน = 0.5 x 1.887 x 3.801 x 2.7 = 9.68 ml.
Ref: https://sites.google.com/site/neurosun/neurosurgeryemergencyforinternshippart7
วันพฤหัสบดีที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558
3,059 Disorders of plasma sodium — causes, consequences, and correction
Review article
Disorder of fluid and electrolytes
N Engl J Med January 1, 2015
เซลล์ของมนุษย์อาศัยอยู่ท่ามกลางน้ำและเกลือ ความเป็นอยู่ขึ้นอยู่กับความสามารถของร่างกายในการควบคุมเกลือ (ความเค็ม) ของของเหลว โดยการควบคุมการน้ำที่เข้าสู่ร่างกายและการขับน้ำออก ระบบการควบคุมออสโมติก (osmoregulatory) โดยปกติจะป้องกันไม่ให้ความเข้มข้นของโซเดียมในพลาสม่าอยู่นอกช่วงปกติ (135-142 มิลลิโมลต่อลิตร) ความล้มเหลวของระบบการเพื่อที่จะควบคุมภายในให้อยู่ในช่วงนี้ก่อให้เกิดเซลล์มีภาวะ hypotonic หรือ hypertonic stress ซึ่งในบทความนี้นี้จะพิจารณาสาเหตุและผลกระทบของความผิดปกติของเข้มข้นของโซเดียมในพลาสมาและนำเสนอกรอบในการแก้ไข
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-Plasma Sodium Concentration and Extracellular Tonicity
-Plasma Sodium Concentration and The electrolyte and Water Content of the Body
-Plasma Sodium Concentration and Tonicity Balance
-Sodium and the Blood–Brain Barrier
-Regulation of the Plasma Sodium Concentration
-Urinary Sodium and the Plasma Sodium Concentration
-Causes of Rapid Changes in the Plasma Sodium Concentration
-Consequences of an Abnormal Plasma Sodium Concentration
-Conclusions
-Source Information
-Correction of an Abnormal Plasma Sodium Concentration
Disorder of fluid and electrolytes
N Engl J Med January 1, 2015
เซลล์ของมนุษย์อาศัยอยู่ท่ามกลางน้ำและเกลือ ความเป็นอยู่ขึ้นอยู่กับความสามารถของร่างกายในการควบคุมเกลือ (ความเค็ม) ของของเหลว โดยการควบคุมการน้ำที่เข้าสู่ร่างกายและการขับน้ำออก ระบบการควบคุมออสโมติก (osmoregulatory) โดยปกติจะป้องกันไม่ให้ความเข้มข้นของโซเดียมในพลาสม่าอยู่นอกช่วงปกติ (135-142 มิลลิโมลต่อลิตร) ความล้มเหลวของระบบการเพื่อที่จะควบคุมภายในให้อยู่ในช่วงนี้ก่อให้เกิดเซลล์มีภาวะ hypotonic หรือ hypertonic stress ซึ่งในบทความนี้นี้จะพิจารณาสาเหตุและผลกระทบของความผิดปกติของเข้มข้นของโซเดียมในพลาสมาและนำเสนอกรอบในการแก้ไข
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-Plasma Sodium Concentration and Extracellular Tonicity
-Plasma Sodium Concentration and The electrolyte and Water Content of the Body
-Plasma Sodium Concentration and Tonicity Balance
-Sodium and the Blood–Brain Barrier
-Regulation of the Plasma Sodium Concentration
-Urinary Sodium and the Plasma Sodium Concentration
-Causes of Rapid Changes in the Plasma Sodium Concentration
-Consequences of an Abnormal Plasma Sodium Concentration
-Conclusions
-Source Information
-Correction of an Abnormal Plasma Sodium Concentration
อ้างอิงและอ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMra1404489