วันพุธที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

3,058 แนวทางการเริ่มและการปรับยาในผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว

เป็นแผนภูมิแสดงแนวทางการเริ่มและการปรับยาในผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวชนิด (HF with reduced EF) HFrEF ความรุนแรงตั้งแต่ NYHA FC 2-4
โดยจะเริ่มจาก diuretic และ ACEI แล้วตามด้วย beta blocker แสดงถึงขั้นตอน วิธีและข้อควรคำนึงถึงในการใช้และการปรับขนาดยา รวมถึงการใช้ยา mineralocorticoid receptor antagonist (MRA) คือยา spironolactone

คลิกที่ภาพเพื่อขยายขนาด

จากหนังสือแนวทางเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษาภาวะหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557
โดยสมาคมแพทย์โรคหัวใจแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ร่วมกับชมรมโรคหัวใจแห่งประเทศไทย

วันอังคารที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2557

3,057 แนวทางการวินิจฉัยโรคพันธุกรรมระบบประสาท

โดยเครือข่ายโรคพันธุกรรมระบบประสาท คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล หน่วยประสาทวิทยา คณะแพทย์ศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
บทนำ
แนวทางการซักประวัติและตรวจร่างกายทั่วไป
แนวทางการตรวจร่างกายและตรวจร่างกายผู้ป่วยเด็ก
แนวทางการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจทางชีวเคมีในผปวยโรคพันธุกรรมระบบประสาท
การตรวจกล้ามเนื้อและเส้นประสาทด้วยไฟฟ้า (electromyography)
การตรวจภาพรังสี imaging: computerized tomography (CT) and magnetic resonance imaging (MRI)
การตรวจกล้ามเนื้อทางพยาธิวิทยา
การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการพันธุศาสตร์
เวชศาสตร์ฟื้นฟูในผู้ป่วยโรคพันธุกรรมระบบประสาท

ลิ้งค์ http://www.sineurogenetics.org/download/text/nervous-system.pdf

วันจันทร์ที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2557

3,056 การกลั้นปัสสาวะไม่ได้ในผู้สูงอายุ

โดย นพ. วันทิน ศรีเบญจลักษณ์ 
รศ.พญ. ปณิตา ลิมปะวัฒนะ
คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-คำจำกัดความ
-ความชุกและอุบัติการณ์
-ความสำคัญของการกลั้นปัสสาวะไม่ได้
-ชนิดของการกลั้นปัสสาวะไม่ได้
-แนวทางการดูแลผู้สูงอายุที่มีปัญหาภาวะกลั้นปัสสาวะไม่ได้
-แนวทางการซักประวัติและตรวจร่างกาย
-การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
-แนวทางการรักษา
-บทสรุป

ลิงค์: http://neurosci.kku.ac.th/wp-content/uploads/2013/09/8-2-6.pdf

วันอาทิตย์ที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2557

3,055 แนวทางการตรวจและแปลผลสมรรถภาพปอดด้วยวิธีสไปโรเมตรีย์ในงานอาชีวอนามัย พ.ศ. 2557

แนวทางการตรวจและแปลผลสมรรถภาพปอดด้วยวิธีสไปโรเมตรีย์ในงานอาชีวอนามัย พ.ศ. 2557
(Guideline for standardization and interpretation of pulmonary function test by spirometry in occupational health setting)

โดยสมาคมโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมแห่งประเทศไทย 
ร่วมกับกลุ่มศูนย์การแพทย์เฉพาะทางด้านอาชีวเวชศาสตร์และเวชศาสตรสิ่งแวดล้อม 
โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข 


วันศุกร์ที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2557

3,053 Spot diagnosis: ผู้ป่วยชายวัยกลางคนถูกงูกัดในป่า

ผู้ป่วยชายวัยกลางคนถูกงูกัดในป่า รอยงูงัดเป็นแบบเขี้ยวและแผลบวม ลักษณะงูที่เห็นน่าจะเป็นงูอะไร และจะให้การดูแลรักษาอย่างไรครับ?



วันพฤหัสบดีที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2557

3,052 Esophageal carcinoma

Review article
N Engl J Med December 25, 2014

Esophageal adenocarcinoma ได้กลายเป็นชนิดของมะเร็งหลอดอาหารที่เด่นในทวีปอเมริกาเหนือและยุโรป โดยมีโรคกรดไหลย้อน (gastroesophageal reflux disease,GERD) และโรคอ้วนเป็นปัจจัยเสี่ยงหลัก  Barrett’s esophagus ได้รับการยอมรับว่าเป็นรอยโรคก่อนที่จะเกิดมะเร็ง สามารถตรวจพบโดยวิธีการส่องกล้องตรวจคัดกรอง ซึ่งจะตามมาด้วยการรักษารอยโรคมะเร็งและการตรวจติดตามของการที่จะเกิดเป็นมะเร็ง
Esophageal squamous-cell carcinoma ยังคงเป็นโรคมะเร็งหลอดอาหารที่เด่นในเอเชีย, แอฟริกาและอเมริกาใต้และในหมู่ชาวอเมริกันแอฟริกันในทวีปอเมริกาเหนือ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์และการสูบบุหรี่เป็นปัจจัยเสี่ยงหลักและ esophageal squamous dysplasia เป็นรอยโรคก่อนที่จะเกิดมะเร็ง อัตราการมีชีวิตรอดตายที่ 5 ปีสำหรับผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งหลอดอาหารแม้ว่าโดยทั่วไปจะไม่ดี แต่ก็ดีขึ้นในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา และความอยู่รอดในระยะยาวเป็นไปได้มากขึ้นสำหรับผู้ป่วยที่เป็นในระยะเริ่มแรก
หรือเป็นเฉพาะที่ บทความนี้จะกล่าวถึงในด้านระบาดวิทยาและพยาธิกำเนิดของโรคมะเร็งหลอดอาหารทั้งสองชนิด เช่นเดียวกับการป้องกันและการรักษาโดยการมุ่งเน้นไปที่ความก้าวหน้าล่าสุดที่มีอยู่
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-Epidemiologic Aspects of Adenocarcinoma and Squamous-Cell Carcinoma
-Environmental Risk Factors
-Genetic Risk Factors
-Animal Models of Esophageal Cancers
-Endoscopic Screening and Surveillance
-Prevention
   Proton-Pump Inhibitors
   Aspirin and NSAIDs
  Statins
-Clinical Presentation of Esophageal Cancer
-Management
   Staging
   Mucosal Tumors
   Locally Advanced Tumors
   Advanced Tumors
-Prognosis
-Summary
-Source Information

อ้างอิงและอ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMra1314530

วันพุธที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2557

3,051 แนวทางเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษาภาวะหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557

โดยสมาคมแพทย์โรคหัวใจแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ร่วมกับชมรมโรคหัวใจแห่งประเทศไทย

เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
1. บทนำ
2. คำจำกัดความภาวะหัวใจล้มเหลว
3. การแบ่งชนิดของภาวะหัวใจล้มเหลว
4. คำแนะนำในการประเมินผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่ามีภาวะหัวใจล้มเหลว
5. ภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง
6. ภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน (acute heart failure)
7. ภาวะหัวใจล้มเหลวและสภาวะ หรือ โรคจำเพาะที่สำคัญ
8. การบริหารจัดการผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวแบบสหสาขา
9. การฝึกออกกำลงกายและฟื้นฟูหัวใจในภาวะหัวใจล้มเหลว
10. เอกสารอ้างอิง


วันอังคารที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2557

3,050 แนวทางเวชปฏิบัติในการวินิจฉัยและรักษาผู้ป่วยดิสเปปเซีย (Dyspepsia)

โดยสมาคมแพทย์ระบบทางเดินอาหารแห่งประเทศไทย
แม้ว่าจะผ่านมา 4 ปี แล้ว แต่คิดว่าเนื้อยายังเป็นประโยชน์ต่อแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ครับ


วันจันทร์ที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2557

3,049 โรคปอดฝุ่นหินทราย

โดยสำนักโรคประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข


วันเสาร์ที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2557

3,047 แนวทางการตรวจคัดกรองโรคเรื้อน โดยสถาบันราชประชาสมาสัย กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

โดยสถาบันราชประชาสมาสัย กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
บทที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับโรคเรื้อน
บทที่ 2 อาการโรคเรื้อน
บทที่ 3 อาการน่าสงสัยเป็นโรคเรื้อน แต่ไม่ใช่โรคเรื้อน
บทที่ 4 การคัดกรองโรคเรื้อน
บทที่ 5 การส่งต่อผู้มีอาการสงสัยโรคเรื้อน
ภาคผนวก


วันศุกร์ที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2557

3,046 เครื่องมือคัดกรองภาวะสมองเสื่อมในชุมชน (screening test for dementia in community)

โดยสุคนธา ศิริ
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-บทนำ
-ความหมายของการคัดกรองและการวินิจฉัยภาวะสมองเสื่อม
-ตัวอย่างเครื่องมือคัดกรองภาวะสมองเสื่อม
-คุณสมบัติเครื่องมือคัดกรองภาวะสมองเสื่อมที่ดี
-ข้อควรพิจารณาในการนำเครื่องมือคัดกรองภาวะสมองเสื่อมไปใช้
-บทสรุป
-เอกสารอ้างอิง

ลิ้งค์ http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/Full%20text%2054_55/no1_56/9%20Sukhontha%20.pdf

วันพฤหัสบดีที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2557

3,045 Acute pericarditis เสียงที่เกิดจากเยื่อหุ้มหัวใจที่อักเสบถูกันไปมา

Clinical practice
N Engl J Med    December 18, 2014

 Key clinical points
-การวินิจฉัยภาวะเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบเฉียบพลันต้องมีอย่างน้อยสองอาการหรืออาการแสดงดังต่อไปนี้: อาการเจ็บหน้าอกที่มีลักษณะเฉพาะ, มีสียงที่เกิดจากเยื่อหุ้มหัวใจที่อักเสบถูกันไปมา (pericardial friction rub), มีเปลี่ยนแปลงของคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่มีลักษณะเฉพาะ, และการมีน้ำในช่องเยื่อหุ้มหัวใจ (pericardial effusion)
-ในประเทศที่พัฒนาแล้ว 80-90% ไม่มีสาเหตุที่ชัดเจนแต่สันนิษฐานว่าเกิดจากไวรัส
-การประเมินได้แก่ข้อมูลจากประวัติทางและการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่จะช่วยตรวจสอบถึงสาเหตุที่เฉพาะเจาะจง ภาพถ่ายรังสีทรวงอกและการตรวจคลื่นเสียงสะท้อนหัวใจ เพื่อตรวจหาน้ำในช่องเยื่อหุ้มหัวใจ
-ในการตอบสนองต่อการรักษาด้วยการใช้ยาร่วมกันของ NSAID และโคลคิซิน, พบว่า 70-90% ของผู้ป่วยหายได้อย่างสมบูรณ์; การรักษาด้วยกลูโคคอร์ติคอยด์ควรหลีกเลี่ยงถ้าเป็นไปได้เพราะจะเพิ่มความเสี่ยงของการเกิดซ้ำ
-ผู้ป่วยที่มีเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบกำเริบควรได้รับการรักษาซ้ำด้วยหลักสูตรที่มี NSAID และโคลคิซิน; ถ้าการรักษาด้วยยกลูโคคอร์ติคอยด์ไม่สามารถหลีกเลี่ยงคได้ควรขนาดเริ่มต้นในระดับปานกลางและค่อยๆ ลดขนาดลงจะให้ผลลัพธ์การรักษาที่ดีที่สุด
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-The Clinical Problem
-Strategies and Evidence
    Evaluation
    Treatment
    Recurrent Pericarditis
-Areas of Uncertainty
-Guidelines
-Conclusions and Recommendations
-Source Information

อ้างอิงค์และอ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMcp1404070

วันพุธที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2557

วันอังคารที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2557

3,043 คู่มือเครื่องชี้วัดทางโภชนาการและโรคที่เกี่ยวข้อง

เป็น eBooks สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน่วยงาน  สำานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
ฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการอาหารแห่งชาติ
สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
ผู้จัดทำ ลัดดา เหมาะสุวรรณ, อุไรพร จิตต์แจ้ง


วันจันทร์ที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2557

3,042 คำแนะนำข้อบ่งชี้การใช้ยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติที่มีราคาแพงกลุ่ม ACEI และ ARB

คำแนะนำข้อบ่งชี้การใช้ยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติที่มีราคาแพง กลุ่มยา Angiotensin Converting Enzyme Inhibitor and Angiotensin Receptor Blocker
จัดทำโดย
คณะทำงานย่อยกำหนดคำแนะนำและข้อบ่งชี้การใช้ยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติที่มีราคาแพงกลุ่มยา Angiotensin Converting Enzyme Inhibitor and Angiotensin Receptor Blocker



วันอาทิตย์ที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2557

3,041 Spot diagnosis: ผู้ป้วยหญิงวัยกลางคนมาด้วยปวดเท้าเรื้อรังมากกว่า 1 ปี โดยเฉพาะช่วงเดิน เดินลำบาก ฟิล์มเป็นดังรูป จะมี heel spur

ผู้ป้วยหญิงวัยกลางคนมาด้วยปวดเท้าเรื้อรังมากกว่า 1 ปี โดยเฉพาะช่วงเดิน เดินลำบาก จากฟิล์มที่เห็นจะให้การวินิจฉัยอะไร และให้การรักษาอย่างไรครับ?


ขอขอบคุณสำหรับทุกๆ ความเห็นที่ร่วมเรียนรู้ครับ 
จากภาพเอ็กซเรย์พบมี 
1. Back of heel spur คือ spur ที่จุดเกาะของ achilles tendon
2. Plantar heel spur (calcaneal spur) ซึ่งในผู้ป่วยที่เป็น plantar fasciitis พบว่าประมาณ 70  จะมี  heel spur
การรักษาจะใช้วิธี conservative treatments ก่อน เช่น การพัก, splints, ประคบเย็น, exercise ans stretches,  shoe inserts, steroid injection, รับประทานยา และถ้าไม่ดีขึ้น ซึ่งมีส่วนน้อยที่ต้องพิจารณาผ่าตัด

วันเสาร์ที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2557

3,040 Spot diagnosis: ผู้ป่วยหญิงวัยกลางคนเป็นมะเร็งปอด หลังได้รับการรักษาเล็บมีลักษณะผิดปกติ

ผู้ป่วยหญิงวัยกลางคนเป็นมะเร็งปอด หลังได้รับการรักษาเล็บมีลักษณะดังที่เป็น จะให้การวินิจฉัยอะไร สาเหตุน่าจะเป็นจากอะไร และจะให้การรักษาอย่างไร?


ผู้ป่วยได้รับการรักษาด้วยยาเคมีบำบัด ซึ่งจากการสืบค้นข้อมูลยาเคมีบำบัดที่ทำให้สีเล็บเปลี่ยน เช่น Bleomycin, Capecitabine, Daunorubicin, Doxorubicin, Epirubicin

วันศุกร์ที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2557

3,039 คู่มือแนวทางการปฏิบัติการส่งต่อผู้ป่วยฉุกเฉิน ด้วยอากาศยาน พ.ศ.2557

โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
บทที่ 1 :  บทบาทของหน่วยบินสกายดอกเตอร์กับการปฏิบัติการแพทย์ฉุกเฉินทางอากาศในประเทศไทย
บทที่ 2 :  เกณฑ์วิธีการและแนวทางปฏิบัติการร้องขออากาศยานและชุดปฏิบัติการแพทย์ฉุกเฉินทางอากาศ
บทที่ 3 :  เอกสารสำหรับการปฏิบัติการฉุกเฉิน
บทท 4 :  แนวทางปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินที่เดินทางด้วยอากาศยาน
บทท 5 :  แนวทางปฏิบัติด้านความปลอดภัยขณะปฏิบัติการแพทย์ฉุกเฉินทางอากาศ
บทท 6 :  แนวทางการจัดตั้งชุดปฏิบัติการแพทย์ฉุกเฉนทางอากาศในระบบแพทย์ฉุกเฉิน


วันพฤหัสบดีที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2557

3,038 Lactic acidosis

Review article
Disorders of fluids and electrolytes
N Engl J Med  December 11, 2014

ภาวะเลือดเป็นกรดจากแล็กติก (lactic acidosis) เป็นผลมาจากการสะสมของแลคเตทและโปรตอนในของเหลวของร่างกายและมักจะเกี่ยวข้องกับผลลัพท์ทางคลินิกที่ไม่ดี ผลของเลือดเป็นกรดจากแล็กติกจะเป็นไปตามความรุนแรงและบริบททางคลินิก การเสียชีวิตเพิ่มขึ้นโดยมีปัจจัยมาจากสามสิ่งหลักๆ คือเมื่อกรดแล็กติกเกิดขึ้นพร้อมๆ กับระบบการใหลเวียนที่ต่ำลงหรือการติดเชื้อ และระดับแลคเตทที่สูงขึ้นยิ่งส่งผลให้แย่ลง แม้ว่าการมีแลคเตทในเลือดสูงมักมีสาเหตุมาจากการขาดออกซิเจนของเนื้อเยื่อ แต่ก็สามารถเป็นผลมาจากกลไกอื่นๆ ได้ด้วย
การควบคุมของภาวะที่ก่อให้เกิดการกระตุ้นเป็นเพียงวิธีการเดียวที่มีประสิทธิภาพในการรักษา อย่างไรก็ตามความก้าวหน้าในการทำความเข้าใจลักษณะทางพยาธิสรีรวิทยา และปัจจัยที่ก่อให้เกิดความผิดปกติของเซลล์ของสภาวะนี้อาจนำไปสู่การรักษาใหม่ๆ
ภาพรวมของบทความนี้นี้เน้นในด้านพยาธิสรีรวิทยา เช่นเดียวกับการตรวจวินิจฉัยและการดูแลรักษา โดยจำกัด การกล่าวถึงที่เกี่ยวข้องกับการสะสมของ I optical isomer ของแลคเตทซึ่งเป็นตัวแทนส่วนใหญ่ของกรณีของเลือดเป็นกรดจากแล็กติกที่พบทางคลินิก
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-Pathophysiological Features
   Normal Lactate Metabolism
   Hyperlactatemia
   Effects on Cellular Function
-Causes
-Diagnosis
-Treatment
   Supporting the Circulation and Ventilation
   Improving the Microcirculation
   Initiating Cause-Specific Measures
   Base Administration
   Potential Future Therapies
   Monitoring of Patients, Goals of Therapy, and Prognosis
-Source Information

อ้างอิงและอ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMra1309483

วันพุธที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2557

3,037 หนังสือแนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน

แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน 
โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (สพฉ)
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย


วันอังคารที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2557

3,036 Spot diagnosis: skin lesion Rt. forearm ในหญิงวัยกลางคน

ผู้ป่วยหญิงวัยกลางคนมีประวัติปวดข้อเรื้อรังมาเป็นปี จากรอยโรคที่แขนขวาจะให้การวินิจฉัยอะไรครับ?




วันจันทร์ที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2557

3,035 หนังสือการปฏิบัติการส่งต่อผู้ป่วยฉุกเฉินระหว่างสถานพยาบาล

หนังสือการปฏิบัติการส่งต่อผู้ป่วยฉุกเฉินระหว่างสถานพยาบาล
(Interfacility Patient Transfer)
โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (สพฉ)

เนื้อหาโดยละเอียดประกอบไปด้วย
-บทนำ
-ระบบปฏิบัติการส่งต่อผู้ป่วยฉุกเฉินระหว่างสถานพยาบาล (Interfacility patient transfer System)
-การจำแนกระดับความเฉียบพลันของอาการผู้ปวยในปฏิบัติการฉุกเฉินระหว่างสถานพยาบาล (Levels of Patient Acuity for Interfacility Transfer)
-การบริหารทรัพยากรในปฏิบัติการส่งต่อผู้ป่วยฉุกเฉินระหว่าง สถานพยาบาล
-การดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินในปฏิบัติการฉุกเฉินในการส่งต่อผู้ป่วยระหว่างสถานพยาบาล
-การปฏิบัติการส่งต่อผู้ป่วยฉุกเฉินระหว่างสถานพยาบาล รูปแบบพิเศษ


วันเสาร์ที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2557

3,033 การวินิจฉัยการติดเชื้อที่กระดูกสันหลังด้วยการตรวจทางรังสีวิทยา

การวินิจฉัยการติดเชื้อที่กระดูกสันหลังด้วยการตรวจทางรังสีวิทยา
Diagnostic imagings of infective spondylitis
โดย อ. บุณฑรี วานิชวัฒนรำลึก
ภาควิชารังสีวิทยา  คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-บทนำ
-การวินิจฉัยโรคทางรังสีวิทยา
-พยาธิสรีรวิทยา
-การถ่ายภาพทางรังสีวิทยา (Plain Film)
-การถ่ายภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (CTscan)
-การตรวจทางคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI)
-การติดเชื้อที่กระดูกสันหลังจากเชื้อแบคทีเรีย (Pyogenic spondylitis)
-การติดเชื้อที่กระดูกสันหลังจากเชื้อวัณโรค (TB spondylitis)
-การติดตามผลการรักษา
-การวินิจฉัยแยกโรค
-สรุป
ลิงค์ http://thailand.digitaljournals.org/index.php/JMHS/article/download/8175/7711


วันศุกร์ที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2557

3,032 คู่มือการใช้แบบประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพแรงงานนอกระบบ

โดยกลุ่มงานชีวอนามัยในแรงงานนอกระบบ

เหมะสำหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เจ้าหน้าที่สถานีอนามัย อาสาสมัครอาชีวอนามัย อสม. แบบประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพอย่างง่าย จัดทำขึ้นเพื่อให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่ และชาวบ้านที่เป็นอาสาสมัครทางด้านสาธารณสุข ใช้ประเมินความเสี่ยงของแรงงานนอกระบบในชุมชนของตนเอง เขียนเข้าใจง่าย




วันพฤหัสบดีที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2557

3,031 Conduct disorder and callous–unemotional traits in youth

Review article
N Engl J Med   December 4, 2014

คำว่าความประพฤติผิดปกติ “conduct problems” หมายถึงรูปแบบของพฤติกรรมการทำลายที่เกิดขึ้นซ้ำๆ, มีความก้าวร้าว, และไม่สนใจคนอื่น ๆ ปัญหาดังกล่าวนี้ได้รับความสนใจเพิ่มขึ้นเมื่อเร็ว ๆ เนื่องจากเหตุการณ์ความรุนแรงที่เกิดจากเยาวชนและจากการเปลี่ยนแปลงเกณฑ์การวินิจฉัยของ Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorders (DSM) ซึ่งความประพฤติผิดปกติเป็นกลุ่มอาการของโรคที่เกี่ยวข้องกับปัญหาการดำเนินการที่เกิดขึ้นอีกในเด็กและวัยรุ่น
ปัญหาความประพฤติของเยาวชนที่มีการคาดการณ์ของความเสี่ยงที่เพิ่มขึ้นของสารเสพติด, พฤติกรรมทางอาญา, และการหยุดการศึกษา พวกเขายังต้องเสียค่าภาระทางสังคมมากจากความทุกข์ทรมานระหว่างบุคคลและค่าใช้จ่ายทางการเงิน
ในบทความนี้จะสรุปข้อมูลที่เป็นปัจจุบันเกี่ยวกับปัญหาความประพฤติของเยาวชนและเน้นแนวโน้มสำหรับทางสำหรับการวิจัย ซึ่งบทความก่อนหน้านี้ได้สรุปทั้งวรรณกรรมทางคลินิกเกี่ยวกับผลลัพท์, การรักษา และปจจัยทางครอบครัว และการทบทวนวรรณกรรมของ neurocognitive เกี่ยวกับกลไกและพยาธิสรีรวิทยา ซึ่งบทความล่าสุดนี้มีความแตกต่างโดยเป็นการผสานในมุมมองทางคลินิกและ neurocognitive
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-Psychopathic Traits
-Development and Outcome
-Neurocognitive Dysfunctions
   Deficient Empathy
   Heightened Threat Sensitivity
   Deficient Decision Making
-Genetic and Environmental Risks
   Genetic Risk
   Environmental Risk
-Treatment
-Future Directions and Conclusions

ลิงค์ http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMra1315612

วันพุธที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2557

3,030 โรคลิ่มเลือดอุดกั้นในปอด (pulmonary embolism)

โดย อ. ทศพล ลิ้มพิจารณ์กิจ 
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-คำนำ
-พยาธสรีรวิทยา
-ปัจจัยเสี่ยง
-อาการแสดงทางคลินิก
-การวินิจฉัยแยกโรค
-แนวทางการวินิจฉัยและการส่งตรวจห้องปฏิบัติการ
-แผนภูมิ แนวทางการส่งตรวจพิเศษเพิ่มเติมเพื่อการวินิจฉัย
-การรักษา
-การให้ยาละลายลิ่มเลือด (thrombolysis)
-แผนภูมิที่ 2 แนวทางการรักษาผู้ป่วย acute pulmonary embolism
-ตาราง  ขนาดยาและวิธีการให้ยาละลายลิ่มเลือด และยาต้านลิ่มเลือด ใน pulmonary embolism
-การให้ยาต้านลิ่มเลือด
-การใส่ vena caval filter
-ผลการรักษาและการพยากรณ์โรค
-สรุป
-เอกสารอ้างอิง

Ref: http://med.mahidol.ac.th/med/sites/default/files/public/pdf/medicinebook1/Pulmonary%20embolism%20%E0%B8%AD%20%E0%B8%97%E0%B8%A8%E0%B8%9E%E0%B8%A5.pdf

วันอังคารที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2557

วันจันทร์ที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2557

3,028 แนวทางการปฏิบัติในการตรวจการติดเชื้อซิฟิลิสในโลหิตบริจาค

บทความพิเศษ
แนวทางการปฏิบัติในการตรวจการติดเชื้อซิฟิลิสในโลหิตบริจาค 
Donor​ Blood ​Screening ​Test ​for ​Syphilis
จัดทำโดยคณะอนุกรรมการวิชาการ ในคณะกรรมการจัดหาและส่งเสริมผู้ให้โลหิตแห่งชาดไทย ศูนย์บริการโลหตแห่งชาติ สภากาชาดไทย
เนื้อหาประกอบด้วย
1.​ แนวปฏิบัติในการตรวจกรอง​ Syphilis ​ในโลหิตผู้บริจาค
2.​ การแจ้งผลให้ไปรับคำปรึกษา​และการรักษา
3.​ Re-entry
4.​ แนวทางการรกษาโรคซิฟิลิส

ลิ้งค์ http://www.tsh.or.th/file_upload/files/vol19-4%2008_Donor_blood_screening_test.pdf