Clinical practice
N Engl J Med October 16, 2014
Key clinical points
-ความถี่ของทั้งงูสวัดและอาการปวดปลายประสาทหลังจากเป็นงูสวัด (ปวดปลายประสาทหลังจากเป็นงูสวัด) เพิ่มขึ้นตามอายุ
-ผลของอาการปวดปลายประสาทหลังจากเป็นงูสวัดก่อให้เกิดความทุกข์ทรมานและคุณภาพของชีวิตลดลงเช่นเดียวกับค่าใช้จ่ายในการดูแลสุขภาพของแต่ละบุคคลและของสังคม
-การรักษาอาจโดยการรักษาเฉพาะที่ (lidocaine หรือ capsaicin) และการรักษาเชิงระบบโดยทั่วไปโดยการใช้ gabapentin, pregabalin หรือยาต้านซึมเศร้ากลุ่ม tricyclic
-บางครั้งใช้ยาแก้ปวดโอปีออยด์ แต่มีความไม่แน่นอนเกี่ยวกับประโยชน์ในระยะยาวและความกังวลเกี่ยวกับความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นรวมถึงแนวโน้มการทำไปใช้ในทางที่ผิด; ถ้าใช้โอปีออยด์ควรมีการปรึกษาหารือผู้เชี่ยวชาญและดูแลอย่างใกล้ชิดและการติดตามเพื่อการรับประกันการนำไปใช้
-ในการทดลองทางคลินิกของการรักษา พบว่าน้อยกว่าครึ่งหนึ่งของผู้ป่วยที่มีอาการปวดปลายประสาทลดลงตั้งแต่ 50% ขึ้นไป; ผลข้างเคียงพบได้บ่อยโดยเฉพาะในผู้ป่วยสูงอายุ
-การฉีดวัคซีนงูสวัดจะช่วยลดอุบัติการณ์ของทั้งงูสวัดและอาการปวดปลายประสาทหลังจากเป็นงูสวัดได้อย่างมีนัยสำคัญ
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-The Clinical Problem
-Key Clinical Points
-Strategies and Evidence
Assessment of the Patient with Postherpetic Neuralgia
Management of Postherpetic Neuralgia
Prevention of Postherpetic Neuralgia
-Areas of Uncertainty
-Professional Guidelines
-Conclusions and Recommendations
-Source Information
อ้างอิงและอ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMcp1403062
เพื่อการเรียนรู้ medicine และสุขภาพที่ดีของประชาชน (community hospital) * เดิมคือ Phimaimedicine.blogspot.com * ตอนนี้มาปฏิบัติงานอยู่ที่ รพ. ขนอม นครศรีธรรมราชครับ
วันพฤหัสบดีที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2557
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ครับ ก็ต้องขอขอบคุณที่ติดตามด้วยดีเสมอมาเช่นกันครับ
ตอบลบ