Review article
Disorders of fluids and electrolytes
N Engl J Med October 9, 2014
สภาวะสมดุลกรดด่างภายในเป็นพื้นฐานในที่ทำให้มีชีวิตอยู่รอด การแปลผลอย่างถูกต้องและทันเวลาของความผิดปกติกรดด่างสามารถช่วยชีวิตได้ แต่การที่จะสามารถวินิจฉัยที่ถูกต้องอาจจะเป็นสิ่งที่ท้าทาย สามวิธีที่สำคัญที่จะบอกถึงความผิดปกติของปริมาณกรดฐานได้แก่การใช้วิธี physiological approach, base-excess approach, และ physicochemical approach (ที่เรียกว่า Stewart method) ซึ่งในบทความนี้จะทบทวนวิธีการแบบขั้นตอนของ physiological approach
physiological approach ใช้ระบบบัฟเฟอร์ของกรดคาร์บอนิไบคาร์บอเนต (carbonic acid–bicarbonate buffer system) อยู่บนพื้นฐานของหลักการ isohydric (isohydric principle) ซึ่งระบบนี้ลักษณะของกรดเป็นผู้ให้ไฮโดรเจนไอออนและด่างจะเป็นผู้รับไฮโดรเจนไอออน ระบบกรดคาร์บอนิไบคาร์บอเนตเป็นสิ่งสำคัญในการรักษาควบคุมสมดุลของร่างกาย
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-History and Physical Examination
-Determination of the Primary Acid–Base Disorder and the Secondary Response
-Evaluation of the Metabolic Component of an Acid–Base Disorder
Metabolic Acidosis
Metabolic Alkalosis
-Evaluation for the Presence of Mixed Metabolic Acid–Base Disturbances
-Consideration of the Serum (Or Plasma) Osmolal Gap
-Evaluation of the Respiratory Component of an Acid–Base Disorder
-Interpretation of Acid–Base Disorders in the Clinical Context
-Conclusions
-Three Case Examples
-Source Information
อ้างอิงและอ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMra1003327?query=TOC
เพื่อการเรียนรู้ medicine และสุขภาพที่ดีของประชาชน (community hospital) * เดิมคือ Phimaimedicine.blogspot.com * ตอนนี้มาปฏิบัติงานอยู่ที่ รพ. ขนอม นครศรีธรรมราชครับ
วันพฤหัสบดีที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2557
2,950 Physiological approach to assessment of acid–base disturbances
ป้ายกำกับ:
Fluid and electrolyte
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น