นักท่องเที่ยวที่จะไปในพี้นทีซึ่งมีมาลาเรียชุกชุม (โดยดูจาก Annual Parasite Index หรือ อัตราการ
เกิดโรคในรอบปีต่อประชากร 1,000 คน) ถ้า API มากกว่า 10 ต่อปี แสดงว่า จะว่าพื้นที่นั้น ๆ มีมาลาเรียชุกชุม) นักท่องเที่ยวจะได้รับประโยชน์จากยาป้องกันป้องกันมาลาเรียมากกว่าความเสี่ยงจากฤทธ์ข้างเคียงของยา แต่ ในประเทศไทยพบว่า API น้อยกว่า 1 ต่อปีในหลายๆ พื้นที่ที่มีป่า ดังนั้นโดยทั่วไปจึงไม่แนะนำให้รับประทานยาป้องกันมาลาเรียในประเทศไทย แต่จะแนะนำว่าถ้ามีไข้ภายใน 1 สัปดาห์ -2 เดือนหลังออกจากป่า ต้องคิดถึงมาลาเรียด้วยว่าอาจเป็นสาเหตุให้เกิดไข้ ให้ผู้ป่วยมาโรงพยาบาลและแจ้งให้แพทย์ทราบถึงประวัติการเดินทางในพี้นที่ซึ่งเสี่ยงจะเป็นมาลาเรียด้วยเพื่อจะได้ตรวจเลือดวินิจฉัยต่อไป
Ref: แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ. 2557
เพื่อการเรียนรู้ medicine และสุขภาพที่ดีของประชาชน (community hospital) * เดิมคือ Phimaimedicine.blogspot.com * ตอนนี้มาปฏิบัติงานอยู่ที่ รพ. ขนอม นครศรีธรรมราชครับ
วันอังคารที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556
วันจันทร์ที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2556
2,624 สรุปคำแนะนำ 9 ข้อในการรักษาความดันโลหิตสูงโดย JNC 8
คำแนะนำที่ 1 ในประชากรทั่วไปที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป เริ่มให้ยาเมื่อความดันโลหิตตัวบน (SBP) ตั้งแต่ 150 มม. ขึ้นไป หรือความดันโลหิตตัวล่าง (DBP) ตั้งแต่ 90 มม. ปรอทขึ้นไป
โดยมีเป้าหมายให้ SBP ต่ำกว่า 150 มม. ปรอท และ DBP ต่ำกว่า 90 มม. ปรอท โดยถ้าความดันความดันโลหิตต่ำกว่าเป้าหมาย (เช่น SBP น้อยกว่า 140 มม. ปรอท) แต่ผู้ป่วยสามารถทนต่อการรักษาและไม่มีผลต่อสุขภาพหรือคุณภาพชีวิต ก็ไม่จำเป็นต้องปรับการรักษา
คำแนะนำที่ 2 ในประชากรทั่วไปที่อายุน้อยกว่า 60 ปี เริ่มต้นให้ยาเมื่อ DBP ตั้งแต่ 90 มม. ปรอท ขึ้นไป โดยเป้าหมายให้ DBP น้อยกว่า 90 มม. ปรอท (สำหรับผู้ที่อายุ 30-59 ปี เป็นคำแนะนำระดับสูง – เกรด A; สำหรับผู้ที่อายุ 18-29 ปี เป็นความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ - เกรด E)
คำแนะนำที่ 3 ในประชากรทั่วไปที่อายุน้อยกว่า 60 ปี เริ่มให้ยาเมื่อ SBP ตั้งแต่ 140 มม. ปรอท ขึ้นไป โดยเป้าหมายให้ SBP ต่ำกว่า 140 มม. ปรอท (ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ - เกรด E)
คำแนะนำที่ 4 ในประชากรอายุ 18 ปีขึ้นไปที่เป็นโรคไตเรื้อรัง (CKD) เริ่มต้นให้ยาเมื่อ SBP ตั้งแต่ 140 มม. ปรอท ขึ้นไป หรือ DBP ตั้งแต่ 90 มม. ปรอท ขึ้นไป โดยเป้าหมายให้ SBP ต่ำกว่า 140 มม. ปรอท และ DBP ต่ำกว่า 90 มิลลิเมตรปรอท (ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ - เกรด E)
คำแนะนำที่ 5 ในประชากรอายุ 18 ปีขึ้นไปที่เป็นเบาหวาน เริ่มต้นให้ยาเมื่อ SBP ตั้งแต่ 140 มม. ปรอท ขึ้นไป หรือ DBP ตั้งแต่ 90 มม. ปรอท ขึ้นไป โดยเป้าหมายให้ SBP ต่ำกว่า 140 มม. ปรอท และ DBP ต่ำกว่า 90 มิลลิเมตรปรอท (ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ - เกรด E)
คำแนะนำที่ 6 ในประชากรทั่วไปที่ไม่ใช่คนผิวดำ รวมทั้งผู้ที่มีเป็นเบาหวาน, การรักษาความดันโลหิตสูงเริ่มต้นควรจะเป็นยาขับปัสสาวะชนิด thiazide, CCB, ACEI หรือ ARB (คำแนะนำระดับปานกลาง - เกรด B)
คำแนะนำที่ 7 ในประชากรผิวดำทั่วไป รวมทั้งผู้ที่เป็นเบาหวาน การรักษาความดันโลหิตสูงเริ่มต้นควรจะเป็นยาขับปัสสาวะชนิด thiazide หรือ CCB (สำหรับประชากรผิวดำทั่วไป: เป็นคำแนะนำระดับปานกลาง - เกรด B; สำหรับผู้ป่วยผิวดำที่เป็นโรคเบาหวาน: เป็นคำแนะนำระดับอ่อน - เกรด C)
คำแนะนำที่ 8 ในประชากรอายุ 18 ปีขึ้นไปที่เป็นโรคไตวายเรื้อรัง, การรักษาเริ่มต้น (หรือ add-on) การรักษาควรมี ACEI หรือ ARB เพื่อช่วยให้ผลลัพธ์การทำงานของไตดีขึ้น ซึ่งสามารถจะนำไปประยุกต์ใช้กับผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังที่มีความดันโลหิตสูงโดยไม่คำนึงถึงเชื้อชาติหรือสถานะของการเป็นเบาหวาน (คำแนะนำระดับปานกลาง - เกรด B)
คำแนะนำที่ 9 วัตถุประสงค์หลักของการรักษาความดันโลหิตสูงคือการบรรลุและรักษาความดันโลหิตได้ตามเป้าหมาย ถ้าไม่ถึงเป้าหมายภายใน 1 เดือนของการรักษา การเพิ่มขนาดยาหรือเพิ่มยาชนิดที่สองจากกลุ่มยาในคำแนะนำข้อที่ 6 (ยาขับปัสสาวะชนิด thiazide, CCB, ACEI หรือ ARB)
โดยแพทย์ควรจะประเมินความดันโลหิตอย่างต่อเนื่องและปรับการรักษาจนได้ตามเป้าหมาย ถ้าเป้าหมายไม่สามารถทำได้ด้วย 2 ยาชนิดแล้ว สามารถเพิ่มและปรับยาชนิดที่ 3 จากรายการที่ให้ไว้ แต่ไม่ควรใช้ ACEI ร่วมกับ ARB และถ้าไม่สามารถถึงเป้าหมายของความดันโลหิดจากคำแนะนำข้อที่ 6 เนื่องจากมีข้อห้ามหรือจำเป็นที่จะต้องใช้ยามากกว่า 3 ชนิดเพื่อให้ถึงเป้าหมาย สามารถใช้ยาความดันโลหิตในกลุ่มอื่นๆ ได้
การส่งต่อผู้ป่วยไปยังผู้เชี่ยวชาญด้านความดันโลหิตสูงอาจจะมีข้อบ่งชี้สำหรับผู้ที่เป้าหมายไม่สามารถบรรลุได้จากการใช้กลยุทธ์ดังกล่าวข้างต้นหรือเพื่อการรักษาภาวะซ้อน หรือผู้ป่วยผู้ที่มีความจำเป็นต้องให้คำปรึกษาทางคลินิกเพิ่มเติม (ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ - เกรด E)
Ref: http://jama.jamanetwork.com/article.aspx?articleid=1791497#jsc130010t1
โดยมีเป้าหมายให้ SBP ต่ำกว่า 150 มม. ปรอท และ DBP ต่ำกว่า 90 มม. ปรอท โดยถ้าความดันความดันโลหิตต่ำกว่าเป้าหมาย (เช่น SBP น้อยกว่า 140 มม. ปรอท) แต่ผู้ป่วยสามารถทนต่อการรักษาและไม่มีผลต่อสุขภาพหรือคุณภาพชีวิต ก็ไม่จำเป็นต้องปรับการรักษา
คำแนะนำที่ 2 ในประชากรทั่วไปที่อายุน้อยกว่า 60 ปี เริ่มต้นให้ยาเมื่อ DBP ตั้งแต่ 90 มม. ปรอท ขึ้นไป โดยเป้าหมายให้ DBP น้อยกว่า 90 มม. ปรอท (สำหรับผู้ที่อายุ 30-59 ปี เป็นคำแนะนำระดับสูง – เกรด A; สำหรับผู้ที่อายุ 18-29 ปี เป็นความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ - เกรด E)
คำแนะนำที่ 3 ในประชากรทั่วไปที่อายุน้อยกว่า 60 ปี เริ่มให้ยาเมื่อ SBP ตั้งแต่ 140 มม. ปรอท ขึ้นไป โดยเป้าหมายให้ SBP ต่ำกว่า 140 มม. ปรอท (ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ - เกรด E)
คำแนะนำที่ 4 ในประชากรอายุ 18 ปีขึ้นไปที่เป็นโรคไตเรื้อรัง (CKD) เริ่มต้นให้ยาเมื่อ SBP ตั้งแต่ 140 มม. ปรอท ขึ้นไป หรือ DBP ตั้งแต่ 90 มม. ปรอท ขึ้นไป โดยเป้าหมายให้ SBP ต่ำกว่า 140 มม. ปรอท และ DBP ต่ำกว่า 90 มิลลิเมตรปรอท (ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ - เกรด E)
คำแนะนำที่ 5 ในประชากรอายุ 18 ปีขึ้นไปที่เป็นเบาหวาน เริ่มต้นให้ยาเมื่อ SBP ตั้งแต่ 140 มม. ปรอท ขึ้นไป หรือ DBP ตั้งแต่ 90 มม. ปรอท ขึ้นไป โดยเป้าหมายให้ SBP ต่ำกว่า 140 มม. ปรอท และ DBP ต่ำกว่า 90 มิลลิเมตรปรอท (ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ - เกรด E)
คำแนะนำที่ 6 ในประชากรทั่วไปที่ไม่ใช่คนผิวดำ รวมทั้งผู้ที่มีเป็นเบาหวาน, การรักษาความดันโลหิตสูงเริ่มต้นควรจะเป็นยาขับปัสสาวะชนิด thiazide, CCB, ACEI หรือ ARB (คำแนะนำระดับปานกลาง - เกรด B)
คำแนะนำที่ 7 ในประชากรผิวดำทั่วไป รวมทั้งผู้ที่เป็นเบาหวาน การรักษาความดันโลหิตสูงเริ่มต้นควรจะเป็นยาขับปัสสาวะชนิด thiazide หรือ CCB (สำหรับประชากรผิวดำทั่วไป: เป็นคำแนะนำระดับปานกลาง - เกรด B; สำหรับผู้ป่วยผิวดำที่เป็นโรคเบาหวาน: เป็นคำแนะนำระดับอ่อน - เกรด C)
คำแนะนำที่ 8 ในประชากรอายุ 18 ปีขึ้นไปที่เป็นโรคไตวายเรื้อรัง, การรักษาเริ่มต้น (หรือ add-on) การรักษาควรมี ACEI หรือ ARB เพื่อช่วยให้ผลลัพธ์การทำงานของไตดีขึ้น ซึ่งสามารถจะนำไปประยุกต์ใช้กับผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังที่มีความดันโลหิตสูงโดยไม่คำนึงถึงเชื้อชาติหรือสถานะของการเป็นเบาหวาน (คำแนะนำระดับปานกลาง - เกรด B)
คำแนะนำที่ 9 วัตถุประสงค์หลักของการรักษาความดันโลหิตสูงคือการบรรลุและรักษาความดันโลหิตได้ตามเป้าหมาย ถ้าไม่ถึงเป้าหมายภายใน 1 เดือนของการรักษา การเพิ่มขนาดยาหรือเพิ่มยาชนิดที่สองจากกลุ่มยาในคำแนะนำข้อที่ 6 (ยาขับปัสสาวะชนิด thiazide, CCB, ACEI หรือ ARB)
โดยแพทย์ควรจะประเมินความดันโลหิตอย่างต่อเนื่องและปรับการรักษาจนได้ตามเป้าหมาย ถ้าเป้าหมายไม่สามารถทำได้ด้วย 2 ยาชนิดแล้ว สามารถเพิ่มและปรับยาชนิดที่ 3 จากรายการที่ให้ไว้ แต่ไม่ควรใช้ ACEI ร่วมกับ ARB และถ้าไม่สามารถถึงเป้าหมายของความดันโลหิดจากคำแนะนำข้อที่ 6 เนื่องจากมีข้อห้ามหรือจำเป็นที่จะต้องใช้ยามากกว่า 3 ชนิดเพื่อให้ถึงเป้าหมาย สามารถใช้ยาความดันโลหิตในกลุ่มอื่นๆ ได้
การส่งต่อผู้ป่วยไปยังผู้เชี่ยวชาญด้านความดันโลหิตสูงอาจจะมีข้อบ่งชี้สำหรับผู้ที่เป้าหมายไม่สามารถบรรลุได้จากการใช้กลยุทธ์ดังกล่าวข้างต้นหรือเพื่อการรักษาภาวะซ้อน หรือผู้ป่วยผู้ที่มีความจำเป็นต้องให้คำปรึกษาทางคลินิกเพิ่มเติม (ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ - เกรด E)
Ref: http://jama.jamanetwork.com/article.aspx?articleid=1791497#jsc130010t1
วันอาทิตย์ที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2556
2,623 ความแตกต่างระหว่าง JNC 7 และ JNC 8 ในด้านคำนิยาม เป้าหมายการรักษา และการใช้ยาความดันโลหิตสูง
-การกำหนดนิยามของความดันโลหิตสูง
JNC 7 กำหนดเป็น prehypertension และ hypertension
JNC 8 ไม่ได้กำหนดแต่บอกถึงระดับที่จะต้องให้การรักษาด้วยยา
-เป้าหมายในการรักษา
JNC 7 แยกเป้าหมายของการรักษาโดยเป็นความดันโลหิตสูงที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อนและกลุ่มย่อยที่มีโรคร่วมหลากหลาย เช่น เบาหวาน โรคไตเรื้อรัง
JNC 8 จะมีเป้าหมายการรักษาคล้ายๆ กันในทุกๆ คนยกเว้นกรณีที่มีหลักฐานสนับสนุนถึงเป้าหมายที่ต่างกันสำหรับกลุ่มย่อยเฉพาะ
-การใช้ยา
JNC 7 แนะนำยา 5 กลุ่ม เป็นยาเริ่มแรก แต่แนะนำยาขับปัสสาวะกลุ่ม thiazide เป็นยาแรกสำหรับผู้ป่วยส่วนใหญ่ที่ไม่มีข้อบ่งชี้สำหรับยากลุ่มอื่น โดยการให้ยาในเฉพาะกลุ่มได้แก่ผู้ป่วย เบาหวาน โรคไตเรื้อรัง หัวใจล้มเหลว กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง และการมีความเสี่ยงสูงต่อหัวใจหลอดเลือดรวมถึงการมีตารางของชื่อยาและขนาดยาชนิดรับประทาน
JNC 8 แนะนำให้เลือกยา 4 กลุ่มเฉพาะ ได้แก่ ACEI หรือ ARB, CCB หรือ diuretic และขนาดตามหลักฐานจากการวิจัยเชิงทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม (RCT) แนะนำยาเฉพาะกลุ่มโดยใช้ข้อมูลหลักฐานตามเชื้อชาติ การเป็นโรคไตเรื้อรัง เป็นเบาหวาน
Ref: http://jama.jamanetwork.com/article.aspx?articleid=1791497#jsc130010t1
JNC 7 กำหนดเป็น prehypertension และ hypertension
JNC 8 ไม่ได้กำหนดแต่บอกถึงระดับที่จะต้องให้การรักษาด้วยยา
-เป้าหมายในการรักษา
JNC 7 แยกเป้าหมายของการรักษาโดยเป็นความดันโลหิตสูงที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อนและกลุ่มย่อยที่มีโรคร่วมหลากหลาย เช่น เบาหวาน โรคไตเรื้อรัง
JNC 8 จะมีเป้าหมายการรักษาคล้ายๆ กันในทุกๆ คนยกเว้นกรณีที่มีหลักฐานสนับสนุนถึงเป้าหมายที่ต่างกันสำหรับกลุ่มย่อยเฉพาะ
-การใช้ยา
JNC 7 แนะนำยา 5 กลุ่ม เป็นยาเริ่มแรก แต่แนะนำยาขับปัสสาวะกลุ่ม thiazide เป็นยาแรกสำหรับผู้ป่วยส่วนใหญ่ที่ไม่มีข้อบ่งชี้สำหรับยากลุ่มอื่น โดยการให้ยาในเฉพาะกลุ่มได้แก่ผู้ป่วย เบาหวาน โรคไตเรื้อรัง หัวใจล้มเหลว กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง และการมีความเสี่ยงสูงต่อหัวใจหลอดเลือดรวมถึงการมีตารางของชื่อยาและขนาดยาชนิดรับประทาน
JNC 8 แนะนำให้เลือกยา 4 กลุ่มเฉพาะ ได้แก่ ACEI หรือ ARB, CCB หรือ diuretic และขนาดตามหลักฐานจากการวิจัยเชิงทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม (RCT) แนะนำยาเฉพาะกลุ่มโดยใช้ข้อมูลหลักฐานตามเชื้อชาติ การเป็นโรคไตเรื้อรัง เป็นเบาหวาน
Ref: http://jama.jamanetwork.com/article.aspx?articleid=1791497#jsc130010t1
วันเสาร์ที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2556
2,622 แอพพลิเคชั่นแอนดรอยด์: การให้ยาแอสไพรินในผู้ป่วยเบาหวาน
ตอนนี้ได้ทำการปรับปรุงหลังจากได้ทดลองใช้แอพพลิเคชั่นแอนดรอยด์: การให้ยาแอสไพรินในผู้ป่วยเบาหวานเสร็จเรียบร้อยแล้ว ขอเชิญดาวน์โหลดและใช้ได้ฟรีครับ และเมื่อได้ลองใช้แล้วรบกวนช่วยตอบคำถามสั้นๆ ในเวลาไม่เกิน 5 นาที เพื่อการพัฒนาปรับปรุงและเพื่อการศึกษาวิจัย ขอขอบพระคุณอย่างยิ่งครับ
โดยขั้นตอนคือ ใช้อุปกรณ์ในระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์เท่านั้น เพื่อดาวน์โหลด ทำการลงและยอมรับการติดตั้งโปรแกรมไปตามขั้นตอนจนเสร็จสิ้น แล้วเริ่มทดลองใช้งาน ถ้ามีปัญหาในการติดตั้งหรือการใช้งาน ตลอดจนความถูกต้องของเนื้อหาสามารถเขียนลงในความเห็นใน post นี้ หรือส่งมาที่อีเมล Chansakmed@hotmail.com ก็ได้ครับ
(โดยผู้ที่เคยดาวน์โหลดไปใช้แล้วสามารถติดตั้งโปรแกรมทับไปได้เลยครับ โปรแกรมจะ update ให้ในทันที)
โดยขั้นตอนคือ ใช้อุปกรณ์ในระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์เท่านั้น เพื่อดาวน์โหลด ทำการลงและยอมรับการติดตั้งโปรแกรมไปตามขั้นตอนจนเสร็จสิ้น แล้วเริ่มทดลองใช้งาน ถ้ามีปัญหาในการติดตั้งหรือการใช้งาน ตลอดจนความถูกต้องของเนื้อหาสามารถเขียนลงในความเห็นใน post นี้ หรือส่งมาที่อีเมล Chansakmed@hotmail.com ก็ได้ครับ
(โดยผู้ที่เคยดาวน์โหลดไปใช้แล้วสามารถติดตั้งโปรแกรมทับไปได้เลยครับ โปรแกรมจะ update ให้ในทันที)
สัญลักษณ์ของแอพพลิเคชั่น
หน้าตาของแอพพลิเคชั่นเมื่อเปิดเข้าไปใช้งาน
ลิ้งค์ดาวน์โหลด Click
วันศุกร์ที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2556
2,621 แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557
โดยราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทย
และสำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-ระบาดวิทยา
-พยาธิกำเนิด
-ลักษณะทางคลินิก
-การติดเชื้ออื่นๆที่พบในมาลาเรียรุนแรง
-มาลาเรียรุนแรงจาก non-falciparum malaria
-มาลาเรียในหญิงตั้งครรภ์
-การวินิจฉัย
-การรักษาผู้ป่วยมาลาเรีย
-ยาป้องกันมาลาเรีย
-เอกสารอ้างอิง
ลิ้งค์ http://www.rcpt.org/index.php/2012-10-03-16-53-39/category/6-2013-02-02-09-02-52.html?download=132%3A-2557
และสำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
-ระบาดวิทยา
-พยาธิกำเนิด
-ลักษณะทางคลินิก
-การติดเชื้ออื่นๆที่พบในมาลาเรียรุนแรง
-มาลาเรียรุนแรงจาก non-falciparum malaria
-มาลาเรียในหญิงตั้งครรภ์
-การวินิจฉัย
-การรักษาผู้ป่วยมาลาเรีย
-ยาป้องกันมาลาเรีย
-เอกสารอ้างอิง
ลิ้งค์ http://www.rcpt.org/index.php/2012-10-03-16-53-39/category/6-2013-02-02-09-02-52.html?download=132%3A-2557
วันพฤหัสบดีที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2556
2,620 Acute liver failure
Review article
Critical care medicine
N Engl J Med December 26, 2013
ภาวะตับวายเฉียบพลันพบได้น้อย แต่คุกคามชีวิตที่สำคัญที่เกิดขึ้นบ่อยที่สุดในผู้ป่วยที่มิได้มีโรคตับมาก่อนด้วยอุบัติการณ์ที่น้อยกว่า 10 รายต่อล้านคนต่อปีในประเทศที่พัฒนาแล้ว ภาวะตับวายเฉียบพลันมีให้เห็นกันมากที่สุดในผู้ใหญ่ที่มีสุขภาพดีมาก่อนในช่วงอายุ 30 ปี และมาด้วยลักษณะที่ไม่ซ้ำกันในการจัดการทางคลินิก ลักษณะทางคลินิกมักได้แก่ความผิดปกติของตับ ค่าชีวเคมีของตับที่ผิดปกติและความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด อาจเกิดความผิดปกติของสมอง ความล้มเหลวของหลายๆ อวัยวะ และการเสียชีวิตที่เกิดขึ้นถึงครึ่งหนึ่งของผู้ป่วย
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-The Clinical Problem
Definition and Presentation
Causes
-Focus of Critical Care
Initial Care
Subsequent Care
-Complications
Cardiorespiratory Dysfunction
Neurologic Conditions
Renal Dysfunction
-Treatment
Metabolic and Nutritional Support
Prognostic Evaluation
Transplantation
Other Therapies
-Source Information
อ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMra1208937
Critical care medicine
N Engl J Med December 26, 2013
ภาวะตับวายเฉียบพลันพบได้น้อย แต่คุกคามชีวิตที่สำคัญที่เกิดขึ้นบ่อยที่สุดในผู้ป่วยที่มิได้มีโรคตับมาก่อนด้วยอุบัติการณ์ที่น้อยกว่า 10 รายต่อล้านคนต่อปีในประเทศที่พัฒนาแล้ว ภาวะตับวายเฉียบพลันมีให้เห็นกันมากที่สุดในผู้ใหญ่ที่มีสุขภาพดีมาก่อนในช่วงอายุ 30 ปี และมาด้วยลักษณะที่ไม่ซ้ำกันในการจัดการทางคลินิก ลักษณะทางคลินิกมักได้แก่ความผิดปกติของตับ ค่าชีวเคมีของตับที่ผิดปกติและความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด อาจเกิดความผิดปกติของสมอง ความล้มเหลวของหลายๆ อวัยวะ และการเสียชีวิตที่เกิดขึ้นถึงครึ่งหนึ่งของผู้ป่วย
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-The Clinical Problem
Definition and Presentation
Causes
-Focus of Critical Care
Initial Care
Subsequent Care
-Complications
Cardiorespiratory Dysfunction
Neurologic Conditions
Renal Dysfunction
-Treatment
Metabolic and Nutritional Support
Prognostic Evaluation
Transplantation
Other Therapies
-Source Information
อ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMra1208937
วันพุธที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2556
2,619 การตรวจวินิจฉัยก้อนของต่อมไทรอยด์ (Diagnostic Approach to Thyroidal Nodule)
โดย รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงพรพิมพ์ กอแพร่พงศ์
แพทย์หญิงวรปารี สุวรรณฤกษ์
ภาควิชารังสีวิทยา คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-บทนำ
-ลักษณะภาพคลื่นเสียงความถี่สูงที่ใช้ในการแยกก้อนเนื้อธรรมดาและก้อนเนื้อมะเร็งในต่อมไทรอยด์ทางคลินิก
-ข้อควรระวังในการแปลผลลักษระภาพคลื่นเสียงความถี่สูงของก้อนในต่อมไทรอยดฺ์
-ข้อบ่งชี้ในการเจาะดูดเซลจากก้อนไทรอยด์ส่งตรวจทางเซลวิทยา
Ref: http://www.rcot.org/datafile/_file/_doctor/83b60f72297087578feb9128cdab3e1e.pdf
แพทย์หญิงวรปารี สุวรรณฤกษ์
ภาควิชารังสีวิทยา คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-บทนำ
-ลักษณะภาพคลื่นเสียงความถี่สูงที่ใช้ในการแยกก้อนเนื้อธรรมดาและก้อนเนื้อมะเร็งในต่อมไทรอยด์ทางคลินิก
-ข้อควรระวังในการแปลผลลักษระภาพคลื่นเสียงความถี่สูงของก้อนในต่อมไทรอยดฺ์
-ข้อบ่งชี้ในการเจาะดูดเซลจากก้อนไทรอยด์ส่งตรวจทางเซลวิทยา
Ref: http://www.rcot.org/datafile/_file/_doctor/83b60f72297087578feb9128cdab3e1e.pdf
วันอังคารที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2556
2,618 ผู้ป่วยหญิง 55 ปี เหนื่อยง่ายเล็กน้อย และผลตรวจ echocardiograph
ผู้ป่วยหญิง 55 ปี เหนื่อยง่ายเล็กน้อย ผลตรวจ echocardiography ใน parastenal long axis view เป็นดังนี้ จะให้การวินิจฉัยอะไรครับ?
ขอขอบคุณสำหรับความคิดเห็นนะครับ
จากวิดีโอพบมีลักษณะเป็น round hyperechoic mass ติดและเคลื่อนไหวไปกับลิ้นไมทรัล ลักษณะน่าจะเป็นเนื้องอก โดยเนื้องอกที่พบได้บ่อยที่สุดคือ myxoma (atrial myxoma) การให้วินิจฉัยที่แน่นอนมีความจำเป็นเพราะมีโอกาสเป็นเนื้องอกชนิดร้ายได้ หรือแม้กระทั่งเป็นการกระจายมาจากที่อื่น ซึ่งในกรณีนี้ได้ส่งต่อผู้ป่วยไป รพศ. แล้ว
วันจันทร์ที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2556
2,617 แนวทางการรักษาโรคหนังแข็ง
โดยภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-นิยาม
-อุบัติการณ์
-การดำเนินโรค
-การซักประวัติผู้ป่วย
-การตรวจร่างกาย
-การตรวจเพิ่มเติม
-แนวทางการดูแลโรคหนังแข็ง
ลิ้งค์ Click
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-นิยาม
-อุบัติการณ์
-การดำเนินโรค
-การซักประวัติผู้ป่วย
-การตรวจร่างกาย
-การตรวจเพิ่มเติม
-แนวทางการดูแลโรคหนังแข็ง
ลิ้งค์ Click
วันอาทิตย์ที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2556
2,616 แจกฟรี เพิ่งทำเสร็จ แอพพลิเคชั่นแอนดรอยด์ ในการให้ยาแอสไพรินในผู้ป่วยเบาหวาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวานเดิมจะให้ยาแอสไพรินในผู้ที่มีอายุมากกว่า 40 ปี หรือมีปัจจัยเสี่ยงของโรคหัวใจได้แก่ ประวัติโรคหัวใจและหลอดเลือดในครอบครัว ความดันโลหิตสูง สูบบุหรี่ ระดับไขมันในเลือดผิดปกติ หรือมีไข่ขาวออกมาในปัสสาวะ แต่ตั้งแต่ปี 2010 จนถึงปัจจุบัน ADA ได้เปลี่ยนแปลงคำแนะนำในการให้ยาแอสไพรินดังนี้
-ปัจจุบันจะให้ยา aspirin ในผู้ป่วยเบาหวานชายที่อายุมากกว่า 50 ปี หรือผู้ป่วยเบาหวานหญิงอายุมากกว่า 60 ปี (10-year risk มากกว่า 10%) คือมีอย่างน้อยหนึ่งปัจจัย ได้แก่ ประวัติโรคหัวใจและหลอดเลือดในครอบครัว ความดันโลหิตสูง สูบบุหรี่ ระดับไขมันในเลือดผิดปกติ หรือมีไข่ขาวออกมาในปัสสาวะ
-ไม่แนะนำให้ในผู้มีปัจจัยเสี่ยงของโรคหัวใจและหลอดเลือดต่ำ (10-year risk น้อยกว่า 5%)
-ในผู้ป่วยที่มีอายุเข้าได้ มีปัจจัยเสี่ยงอื่นๆหลายอย่างหรือมีปัจจัยเสี่ยงของโรคหัวใจและหลอดเลือดระดับปานกลาง(10-year risk 5–10%), ในผู้ที่อายุน้อยแต่มีปัจจัยเสี่ยงสูง หรือในผู้สูงอายุที่ไม่มีปัจจัยเสี่ยง ให้ใช้การตัดสินใจตามลักษณะทางคลินิกเข้าช่วย จนกว่าจะมีการศึกษาวิจัยที่ให้ข้อมูลมากขึ้น
-ใช้ aspirin เป็นการป้องกันทุติยภูมิในผู้ป่วยเบาหวานที่เคยมีโรคหัวใจและหลอดเลือด
ซึงในคำแนะนำใหม่นี้ทำให้มีความซับซ้อน และต้องใช้ความจำข้อมูลเพื่อการตัดสินใจให้ยา ผมจึงมีแนวคิดว่าจะทำแอพพลิเคชั่นร่วมกับโปรแกรมเมอร์เพื่อให้เกิดความสะดวก ง่าย รวดเร็วและถูกต้อง โดยใช้ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ (Android operating system) ซึ่งเป็นระบบปฏิบัติการที่ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย จึงอยากให้ผู้ที่เกี่ยวข้องที่ต้องดูและผู้ป่วยและใช้ยาได้ทดลองใช้ดู ถ้ามีจุดใดที่ไม่ตรง หรือมีปัญหาในการใช้แอพพลิเคชั่นสามารถแจ้งมาได้ เพื่อการปรับปรุง
โดยขั้นตอนคือใช้อุปกรณ์ที่ใช้ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์เท่านั้น เพื่อดาวน์โหลด และลงและยอมรับการติดตั้งโปรแกรมไปตามขั้นตอนจนเสร็จสิ้น แล้วเริ่มทดลองใช้งาน ถ้ามีปัญหาในการติดตั้งหรือการใช้งาน ตลอดจนความถูกต้องของเนื้อหาสามารถเขียนลงในความเห็นใน post นี้ หรือส่งมาที่อีเมล Chansakmed@hotmail.com เพื่อรวบรวมข้อมูลและปรับปรุงให้ดีที่สุดครับ
ลิ้งค์ดาวโหลดโปรแกรม Click
-ปัจจุบันจะให้ยา aspirin ในผู้ป่วยเบาหวานชายที่อายุมากกว่า 50 ปี หรือผู้ป่วยเบาหวานหญิงอายุมากกว่า 60 ปี (10-year risk มากกว่า 10%) คือมีอย่างน้อยหนึ่งปัจจัย ได้แก่ ประวัติโรคหัวใจและหลอดเลือดในครอบครัว ความดันโลหิตสูง สูบบุหรี่ ระดับไขมันในเลือดผิดปกติ หรือมีไข่ขาวออกมาในปัสสาวะ
-ไม่แนะนำให้ในผู้มีปัจจัยเสี่ยงของโรคหัวใจและหลอดเลือดต่ำ (10-year risk น้อยกว่า 5%)
-ในผู้ป่วยที่มีอายุเข้าได้ มีปัจจัยเสี่ยงอื่นๆหลายอย่างหรือมีปัจจัยเสี่ยงของโรคหัวใจและหลอดเลือดระดับปานกลาง(10-year risk 5–10%), ในผู้ที่อายุน้อยแต่มีปัจจัยเสี่ยงสูง หรือในผู้สูงอายุที่ไม่มีปัจจัยเสี่ยง ให้ใช้การตัดสินใจตามลักษณะทางคลินิกเข้าช่วย จนกว่าจะมีการศึกษาวิจัยที่ให้ข้อมูลมากขึ้น
-ใช้ aspirin เป็นการป้องกันทุติยภูมิในผู้ป่วยเบาหวานที่เคยมีโรคหัวใจและหลอดเลือด
ซึงในคำแนะนำใหม่นี้ทำให้มีความซับซ้อน และต้องใช้ความจำข้อมูลเพื่อการตัดสินใจให้ยา ผมจึงมีแนวคิดว่าจะทำแอพพลิเคชั่นร่วมกับโปรแกรมเมอร์เพื่อให้เกิดความสะดวก ง่าย รวดเร็วและถูกต้อง โดยใช้ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ (Android operating system) ซึ่งเป็นระบบปฏิบัติการที่ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย จึงอยากให้ผู้ที่เกี่ยวข้องที่ต้องดูและผู้ป่วยและใช้ยาได้ทดลองใช้ดู ถ้ามีจุดใดที่ไม่ตรง หรือมีปัญหาในการใช้แอพพลิเคชั่นสามารถแจ้งมาได้ เพื่อการปรับปรุง
โดยขั้นตอนคือใช้อุปกรณ์ที่ใช้ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์เท่านั้น เพื่อดาวน์โหลด และลงและยอมรับการติดตั้งโปรแกรมไปตามขั้นตอนจนเสร็จสิ้น แล้วเริ่มทดลองใช้งาน ถ้ามีปัญหาในการติดตั้งหรือการใช้งาน ตลอดจนความถูกต้องของเนื้อหาสามารถเขียนลงในความเห็นใน post นี้ หรือส่งมาที่อีเมล Chansakmed@hotmail.com เพื่อรวบรวมข้อมูลและปรับปรุงให้ดีที่สุดครับ
สัญลักษณ์ของแอพพลิเคชั่น
หน้าตาของแอพพลิเคชั่นเมื่อเปิดเข้าไปใช้งาน
ลิ้งค์ดาวโหลดโปรแกรม Click
วันเสาร์ที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2556
2,615 พยาธิสรีรวิทยาของ Acute Respiratory Distress Syndrome (ARDS)
พยาธิสรีรวิทยาของ ARDS ยังไม่เป็นที่เข้าใจอย่างสมบูรณ์ ในช่วงแรกอาจจะเป็นผลเนื่องจากการเกิดขึ้นโดยตรงที่ปอดหรือทางอ้อมจากภายนอกปอด ซึ่งเชื่อว่าสาเหตุมาจากการเกิดการเพิ่มของสารสื่อกลางในขบวนการอักเสบซึ่งส่งเสริมการสะสมของนิวโทรฟิลในหลอดเลือดขนาดเล็กๆ ของปอด นิวโทรฟิลเหล่านี้และเคลื่อนย้ายเป็นจำนวนมากข้ามผนังหลอดเลือดชั้นในและเซลเยื่อบุพื้นผิวถุงลม, หลั่งโปรติเอส, ไซโตไคน์, สารออกซิไดส์แรงสูง (reactive oxygen species) การเคลื่อนย้ายและการปล่อยสารสื่อกลางนี้นำมาสู่พยาธิสภาพของการซึมผ่านออกนอกหลอดเลือด, ช่องว่างในเยื่อบุผิวถุงลมที่เป็นตัวกั้น, และเนื้อตายของเซลล์ถุงชนิดที่ I และ II
ในที่สุดก็จะนำไปสู่อาการบวมน้ำที่ปอด, การสร้างเยื่อหุ้มเซลล์ไฮยะลิน, และการสูญเสียของการลดแรงตึงผิวซึ่งจะลดการยอมตาม (compliance) ของปอดและทำให้เกิดความยากในการแลกเปลี่ยนก๊าช ส่งผลให้การแทรกซึมของเซลล์ไฟโบบลาสซึ่งสามารถนำไปสู่การสะสมคอลลาเจน, พังผืด, และโรคที่รุนแรงมากขึ้น ซึ่งขบวนการเหล่านี้ทำให้ภาพรังสีของผู้ป่วยที่มี ARDS เกิดการทึบของช่องว่างอากาศในปอดสองข้าง
ในที่สุดก็จะนำไปสู่อาการบวมน้ำที่ปอด, การสร้างเยื่อหุ้มเซลล์ไฮยะลิน, และการสูญเสียของการลดแรงตึงผิวซึ่งจะลดการยอมตาม (compliance) ของปอดและทำให้เกิดความยากในการแลกเปลี่ยนก๊าช ส่งผลให้การแทรกซึมของเซลล์ไฟโบบลาสซึ่งสามารถนำไปสู่การสะสมคอลลาเจน, พังผืด, และโรคที่รุนแรงมากขึ้น ซึ่งขบวนการเหล่านี้ทำให้ภาพรังสีของผู้ป่วยที่มี ARDS เกิดการทึบของช่องว่างอากาศในปอดสองข้าง
วันศุกร์ที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2556
2,614 Pulmonary-Artery Catheterization
Video in clinical medicine
N Engl J Med December 19, 2013
การใส่สายสวนไปที่หลอดเลือดแดงของปอดในยุคใหม่ หรืออาจเรียกว่า Swan–Ganz catheter ซึ่งได้มีการกล่าวถึงในวารสารเมื่อ 43 ปีที่ผ่านมา โดยการปล่อยลมเข้าบอลลูนที่อยู่ส่วนปลาย โดยการใส่สายนี้สามารถทำได้ข้างเตียง (bedside) และจะมีตัวต้านทานความร้อน (thermistor) และพอร์ตสำหรับวัดปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจ (cardiac output) โดยเทคนิคการวัดการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิของเลือด (thermodilution)
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-Overview
-Indications
-Contraindications
-Equipment
-Preparation
-Procedure
-Aftercare
-Problems and Complications
-Interpretation
-Summary
Ref: http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMvcm1212416?query=featured_home
N Engl J Med December 19, 2013
การใส่สายสวนไปที่หลอดเลือดแดงของปอดในยุคใหม่ หรืออาจเรียกว่า Swan–Ganz catheter ซึ่งได้มีการกล่าวถึงในวารสารเมื่อ 43 ปีที่ผ่านมา โดยการปล่อยลมเข้าบอลลูนที่อยู่ส่วนปลาย โดยการใส่สายนี้สามารถทำได้ข้างเตียง (bedside) และจะมีตัวต้านทานความร้อน (thermistor) และพอร์ตสำหรับวัดปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจ (cardiac output) โดยเทคนิคการวัดการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิของเลือด (thermodilution)
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-Overview
-Indications
-Contraindications
-Equipment
-Preparation
-Procedure
-Aftercare
-Problems and Complications
-Interpretation
-Summary
Ref: http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMvcm1212416?query=featured_home
วันพฤหัสบดีที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2556
2,613 Chronic infectious disease and the future of health care delivery
Special article
Shattuck lecture
N Engl J Med December 19, 2013
กว่าสี่ทศวรรษที่ผ่านมาหลังจากที่ศัลยแพทย์ทั่วไปชาวสหรัฐอเมริกาได้กล่าวว่า "ถึงเวลาที่จะปิดหนังสือเกี่ยวกับโรคติดเชื้อ" เชื้อโรคที่ดื้อยาได้ลดประสิทธิภาพของการรักษาจากยาที่เคยมีศักยภาพ
ในรอบสามทศวรรษที่ผ่านมา เชื้อโรคใหม่ที่ได้รับการกล่าวถึง รวมทั้งไวรัสโรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง (HIV) โรคติดเชื้อทางเดินหายใจรุนแรงเฉียบพลัน (SARS), ไวรัสไข้หวัดใหญ่ H1N1 ได้ก่อให้เกิดการระบาดในวงกว้าง ขณะที่ความเสียหายแบบเดิมๆ จากวัณโรคจนตลอดจนอหิวาตกโรคยังคงอยู่หรือกลับคืนมา
พร้อมๆ กันกับการเพิ่มขึ้นของอายุขัยและการเปลี่ยนแปลงทางสังคมอย่างรวดเร็วได้นำไปสู่ภาระที่เพิ่มขึ้นของโรคเรื้อรังที่เรามีวิธีการรักษาที่มีประสิทธิภาพ แต่ยังไม่เพียงพอของนวัตกรรมที่จะทำให้เกิดประสิทธิภาพกับคนที่ยากจน ที่เรียกสิ่งนี้ว่าสิ่งที่ต้องทำหรือการส่งมอบ หรือช่องว่าง
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-Failures of Delivery: A Look Back to the Year 2000
-Antiretroviral Therapy between Development and Delivery
-The Delivery Decade: Bringing Art to Scale
-Conclusions: From Pessimism to Optimism
-Source Information
อ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMsa1310472
Shattuck lecture
N Engl J Med December 19, 2013
กว่าสี่ทศวรรษที่ผ่านมาหลังจากที่ศัลยแพทย์ทั่วไปชาวสหรัฐอเมริกาได้กล่าวว่า "ถึงเวลาที่จะปิดหนังสือเกี่ยวกับโรคติดเชื้อ" เชื้อโรคที่ดื้อยาได้ลดประสิทธิภาพของการรักษาจากยาที่เคยมีศักยภาพ
ในรอบสามทศวรรษที่ผ่านมา เชื้อโรคใหม่ที่ได้รับการกล่าวถึง รวมทั้งไวรัสโรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง (HIV) โรคติดเชื้อทางเดินหายใจรุนแรงเฉียบพลัน (SARS), ไวรัสไข้หวัดใหญ่ H1N1 ได้ก่อให้เกิดการระบาดในวงกว้าง ขณะที่ความเสียหายแบบเดิมๆ จากวัณโรคจนตลอดจนอหิวาตกโรคยังคงอยู่หรือกลับคืนมา
พร้อมๆ กันกับการเพิ่มขึ้นของอายุขัยและการเปลี่ยนแปลงทางสังคมอย่างรวดเร็วได้นำไปสู่ภาระที่เพิ่มขึ้นของโรคเรื้อรังที่เรามีวิธีการรักษาที่มีประสิทธิภาพ แต่ยังไม่เพียงพอของนวัตกรรมที่จะทำให้เกิดประสิทธิภาพกับคนที่ยากจน ที่เรียกสิ่งนี้ว่าสิ่งที่ต้องทำหรือการส่งมอบ หรือช่องว่าง
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-Failures of Delivery: A Look Back to the Year 2000
-Antiretroviral Therapy between Development and Delivery
-The Delivery Decade: Bringing Art to Scale
-Conclusions: From Pessimism to Optimism
-Source Information
อ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMsa1310472
วันพุธที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2556
2,612 การตรวจคัดกรองเบาหวานในสตรีตั้งครรภ์ โดยราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย
การตรวจคัดกรองเบาหวานในสตรีตั้งครรภ์
RTCOG Clinical Practice Guideline Diabetes Mellitus Screening in Pregnancy
โดย ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย
ลิ้งค์ http://www.rtcog.or.th/html/photo/newsfile_606544.pdf
RTCOG Clinical Practice Guideline Diabetes Mellitus Screening in Pregnancy
โดย ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย
ลิ้งค์ http://www.rtcog.or.th/html/photo/newsfile_606544.pdf
วันอังคารที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2556
2,611 ผู้ป่วยที่มีโอกาสดื้อยาวัณโรคหลายขนาน (multi drug resistance, MDR-TB) ระหว่างการรักษา
-กำลังรักษาด้วยสูตรยา CAT1 แล้วอาการไม่ดีขึ้นร่วมกับเสมหะไม่เป็นลบ เมื่อสิ้นสุดการรักษาเดือนที่ 2 และหลังจากให้การรักษาด้วยยา 4 ชนิดต่ออีก 1 เดือน อาการก็๋ยังไม่ดีขึ้น และเสมหะยังเป็นบวกอยู่
-กำลังรักษาด้วยสูตรยา CAT1 แล้วผลการรักษษเป็นล้มเหลว และรับประทานยาสม่ำเสมอด้วย DOTs จะมีความเสี่ยงสูงต่อการเกิด MRD-TB ชนิด primary แต่ถ้ารับประทานยาไม่สม่ำเสมอ ก็จะมีโอกาสเกิด MRD-TB ชนิด acquired ได้เช่นกัน
-กำลังรักษาด้วยสูตรยา CAT2 และผลเสมหะไม่มีการเปลี่ยนเป็นลบ เมื่อสิ้นสุดการรักษาเดือนที่ 3 มีโอกาสดื้อยาแบบ MRD-TB โดยเฉพาะถ้าหลังจากการให้การรักษาด้วยยา 4 ชนิดต่ออีก 1 เดือน อาการก็ยังไม่ดีขึ้น และเสมหะยังเป็นบวกอยู่ มีโอกาสที่ผลการรักษาจะล้มเหลว
-กำลังรักษาด้วยสูตรยา CAT2 และเสมหะเมื่อสิ้นสุดเดือนที 5 ยังพบเชื้อ กลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงที่จะเป็น MRD-TB
-Treatment after default (TAD) ที่กลับมาแล้วเสมหะเป็นบวก พวกนี้มีโอกาสเกิดการดื้อยาได้มาก
Ref: แนวทางแห่งชาติสำหรับการรักษาวัณโรคดื้อยาหลายขนาน MDR-TB
-กำลังรักษาด้วยสูตรยา CAT1 แล้วผลการรักษษเป็นล้มเหลว และรับประทานยาสม่ำเสมอด้วย DOTs จะมีความเสี่ยงสูงต่อการเกิด MRD-TB ชนิด primary แต่ถ้ารับประทานยาไม่สม่ำเสมอ ก็จะมีโอกาสเกิด MRD-TB ชนิด acquired ได้เช่นกัน
-กำลังรักษาด้วยสูตรยา CAT2 และผลเสมหะไม่มีการเปลี่ยนเป็นลบ เมื่อสิ้นสุดการรักษาเดือนที่ 3 มีโอกาสดื้อยาแบบ MRD-TB โดยเฉพาะถ้าหลังจากการให้การรักษาด้วยยา 4 ชนิดต่ออีก 1 เดือน อาการก็ยังไม่ดีขึ้น และเสมหะยังเป็นบวกอยู่ มีโอกาสที่ผลการรักษาจะล้มเหลว
-กำลังรักษาด้วยสูตรยา CAT2 และเสมหะเมื่อสิ้นสุดเดือนที 5 ยังพบเชื้อ กลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงที่จะเป็น MRD-TB
-Treatment after default (TAD) ที่กลับมาแล้วเสมหะเป็นบวก พวกนี้มีโอกาสเกิดการดื้อยาได้มาก
Ref: แนวทางแห่งชาติสำหรับการรักษาวัณโรคดื้อยาหลายขนาน MDR-TB
วันจันทร์ที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2556
2,610 สาเหตุทำให้ผู้ป่วยอาจมีการดื้อยาวัณโรคตั้งแต่ก่อนให้การรักษา
-ผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ที่มีการติดเชื้อเอชไอวีร่วมด้วย
-มีประวัติสัมผัสกับผู้ป่วย MDR-TB รวมทั้งบุคลากรทางการแพทย์ที่ป่วยเป็นวัณโรค และมีประวัติการสัมผัสผู้ป่วย MDR-TB
-กลุ่มเสี่ยงอื่นๆ เช่น ผู้ป่วยตามแนวชายแดน ผู้ป่วยในเรือนจำ เป็นเบาหวาน แผลโพรงวัณโณคในปอดขนาดใหญ่
Ref: แนวทางแห่งชาติสำหรับการรักษาวัณโรคดื้อยาหลายขนาน MDR-TB
-มีประวัติสัมผัสกับผู้ป่วย MDR-TB รวมทั้งบุคลากรทางการแพทย์ที่ป่วยเป็นวัณโรค และมีประวัติการสัมผัสผู้ป่วย MDR-TB
-กลุ่มเสี่ยงอื่นๆ เช่น ผู้ป่วยตามแนวชายแดน ผู้ป่วยในเรือนจำ เป็นเบาหวาน แผลโพรงวัณโณคในปอดขนาดใหญ่
Ref: แนวทางแห่งชาติสำหรับการรักษาวัณโรคดื้อยาหลายขนาน MDR-TB
วันอาทิตย์ที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2556
2,609 การแบ่งชนิดของความเสี่ยงของโรคหลอดเลือดและหัวใจและประโยชน์
-Predisposing factors ได้แก่ age, sex, family history, genes
-Risk-modifying behaviors ได้แก่ smoking, atherogenic diet, alcohol intake, physical activity
-Metabolic risk factors ได้แก่ dyslipidemias, hypertension, obesity, diabetes, metabolic syndrome
-Disease markers ได้แก่ calcium score, catheterization results, stress test results, LVH, history of vascular disease, inflammatory state, urinary albumin
โดยผมเองเห็นว่าการแบ่งชนิดของความเสี่ยงนี้ช่วยให้เรารู้ว่าปัจจัยเสี่ยงใดเป็นปัจจัยเสี่ยงที่ติดตัวมาทำการเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ยาก และปัจจัยเสี่ยงใดที่เกิดจากพฤติกรรมการปฏิบัติตัวของเรา หรือเกิดจากขบวนการเมตาโบลิซมของร่างกายเองซึ่งปัจจัยนี้สามารถทำการเปลี่ยนแปลงปรับปรุงให้ดีขึ้นได้ และบอกถึงสิ่งที่บ่งชี้หรือเครื่องหมายของการที่จะเกิดโรคหลอดเลือดและหัวใจ เป็นประโยชน์ในการวางแผนป้องกัน รักษา และส่งเสริมในโรคหลอดเลือดและหัวใจ
Ref: http://www.thaiheart.org/images/column_1382415474/Cardiovascular%20Prevention.pdf
-Risk-modifying behaviors ได้แก่ smoking, atherogenic diet, alcohol intake, physical activity
-Metabolic risk factors ได้แก่ dyslipidemias, hypertension, obesity, diabetes, metabolic syndrome
-Disease markers ได้แก่ calcium score, catheterization results, stress test results, LVH, history of vascular disease, inflammatory state, urinary albumin
โดยผมเองเห็นว่าการแบ่งชนิดของความเสี่ยงนี้ช่วยให้เรารู้ว่าปัจจัยเสี่ยงใดเป็นปัจจัยเสี่ยงที่ติดตัวมาทำการเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ยาก และปัจจัยเสี่ยงใดที่เกิดจากพฤติกรรมการปฏิบัติตัวของเรา หรือเกิดจากขบวนการเมตาโบลิซมของร่างกายเองซึ่งปัจจัยนี้สามารถทำการเปลี่ยนแปลงปรับปรุงให้ดีขึ้นได้ และบอกถึงสิ่งที่บ่งชี้หรือเครื่องหมายของการที่จะเกิดโรคหลอดเลือดและหัวใจ เป็นประโยชน์ในการวางแผนป้องกัน รักษา และส่งเสริมในโรคหลอดเลือดและหัวใจ
Ref: http://www.thaiheart.org/images/column_1382415474/Cardiovascular%20Prevention.pdf
วันเสาร์ที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2556
2,608 หลักเกณฑ์ในการที่จะดูว่าโรคมะเร็งชนิดใด สมควรจะนำมาทำการคัดกรอง (screening)
1. โรคมะเร็งชนิดนั้น ต้องเป็นปัญหาที่ใหญ่มากพอในกลุ่มประชากร ที่ทำให้ผลการคัดกรองมีความคุ้มค่า
2. ต้องรู้ถึงธรรมชาติ หรือขบวนการดำเนินโรค และระยะเวลาที่ยังไม่มีอาการมีความยาวนานพอต่อการคัดกรอง
3. วิธีการคัดกรองที่ใช้ต้องเป็นที่ยอมรับ และมีหลักฐานว่าสามารถตรวจพบโรคมะเร็งในระยะเริ่มแรกได้ โดยมีผลบวกลวง และผลลบลวงต่ำ
4. ต้องมีวิธีการรักษาโรคมะเร็งและลดอัตราการเสียชีวิตจากโรคมะเร็งนั้นอย่างมีประสิทธิผล
5. ค่าใช้จ่าย ความสะดวกของวิธีการคัดกรองดังกล่าวต้องเป็นที่ยอมรับของผู้ตรวจและผู้รับการคัดกรอง
Ref: แผนการป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งแห่งชาติ: National Cancer Control Programmes (พ.ศ. 2556 – 2560)
2. ต้องรู้ถึงธรรมชาติ หรือขบวนการดำเนินโรค และระยะเวลาที่ยังไม่มีอาการมีความยาวนานพอต่อการคัดกรอง
3. วิธีการคัดกรองที่ใช้ต้องเป็นที่ยอมรับ และมีหลักฐานว่าสามารถตรวจพบโรคมะเร็งในระยะเริ่มแรกได้ โดยมีผลบวกลวง และผลลบลวงต่ำ
4. ต้องมีวิธีการรักษาโรคมะเร็งและลดอัตราการเสียชีวิตจากโรคมะเร็งนั้นอย่างมีประสิทธิผล
5. ค่าใช้จ่าย ความสะดวกของวิธีการคัดกรองดังกล่าวต้องเป็นที่ยอมรับของผู้ตรวจและผู้รับการคัดกรอง
Ref: แผนการป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งแห่งชาติ: National Cancer Control Programmes (พ.ศ. 2556 – 2560)
วันศุกร์ที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2556
2,607 Effect of CPAP on blood pressure in patients with obstructive sleep apnea and resistant hypertension
The HIPARCO Randomized Clinical Trial
Journal of american medical association
December 11, 2013, Vol 310, No. 22
มากกว่า 70% ของผู้ป่วยที่มีความดันโลหิตสูงซึ่งดื้อต่อการรักษาจะมีภาวะอุดกั้นทางเดินหายใจขณะนอนหลับ (obstructive sleep apnea, OSA) แต่มีหลักฐานเพียงเล็กน้อยเกี่ยวกับผลกระทบของการรักษาด้วยเครื่องอัดอากาศแรงดันบวก (continuous positive airway pressure, CPAP) การรักษาความดันโลหิตสูงซึ่งดื้อต่อการรักษา
สรุปผลการศึกษา ในผู้ป่วยที่มีความดันโลหิตสูงและ OSA ที่มีความดันโลหิตสูงซึ่งดื้อต่อการรักษา หลังให้การรักษาด้วย CPAP 12 สัปดาห์เมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุมพบว่ามีการลดลงของค่าความดันโลหิตเฉลี่ย 24 ชั่วโมงและความดันโลหิตตัวล่าง และทำให้รูปแบบความดันโลหิตในเวลากลางคืนดีขึ้น ซึ่งการวิจัยเพิ่มเติมจะช่วยในการประเมินผลลัพธ์ด้านสุขภาพในระยะยาว
Ref: http://jama.jamanetwork.com/article.aspx?articleid=1788459
Journal of american medical association
December 11, 2013, Vol 310, No. 22
มากกว่า 70% ของผู้ป่วยที่มีความดันโลหิตสูงซึ่งดื้อต่อการรักษาจะมีภาวะอุดกั้นทางเดินหายใจขณะนอนหลับ (obstructive sleep apnea, OSA) แต่มีหลักฐานเพียงเล็กน้อยเกี่ยวกับผลกระทบของการรักษาด้วยเครื่องอัดอากาศแรงดันบวก (continuous positive airway pressure, CPAP) การรักษาความดันโลหิตสูงซึ่งดื้อต่อการรักษา
สรุปผลการศึกษา ในผู้ป่วยที่มีความดันโลหิตสูงและ OSA ที่มีความดันโลหิตสูงซึ่งดื้อต่อการรักษา หลังให้การรักษาด้วย CPAP 12 สัปดาห์เมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุมพบว่ามีการลดลงของค่าความดันโลหิตเฉลี่ย 24 ชั่วโมงและความดันโลหิตตัวล่าง และทำให้รูปแบบความดันโลหิตในเวลากลางคืนดีขึ้น ซึ่งการวิจัยเพิ่มเติมจะช่วยในการประเมินผลลัพธ์ด้านสุขภาพในระยะยาว
Ref: http://jama.jamanetwork.com/article.aspx?articleid=1788459
วันพฤหัสบดีที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2556
2,606 Cervical-cancer screening with human papillomavirus and cytologic cotesting
Clinical practice
N Engl J Med December 12, 2013
Key clinical points
-การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในประเทศสหรัฐอเมริกาไม่ควรเริ่มต้นจนกระทั่งอายุ 21 ปี เนื่องจากวัยรุ่นที่มีความเสี่ยงต่ำมากสำหรับโรคมะเร็งปากมดลูก แต่มีอัตราการติดเชื้อ papillomavirus (HPV) แบบชั่วคราวในอัตราที่สูง และมีความสัมพันธ์กับความผิดปกติของเซลแบบเล็กน้อย
-ความเสี่ยงของภาวะก่อนที่จะเป็นมะเร็ง (precancer) และมะเร็งปากมดลูกต่ำมากหลังจากปีที่มีการตรวจเชื้อ HPV ว่าเป็นผลลบ
-สำหรับผู้หญิงในประเทศสหรัฐอเมริกาที่มีอายุ 30 ปีหรือมากกว่า (ซึ่งผ่านอายุที่มีการติดเชื้อเอชพีวีสูงสุดมาใหม่ๆ) การตรวจเซลวิทยา (cytologic) และการตรวจร่วม (cotesting) สำหรับ HPV อื่นๆ ทุกๆ 5 ปี เป็นทางเลือกที่ได้รับการยอมรับของการตรวจเซลวิทยาอย่างเดียว ทุกๆ 3 ปี
-การทดสอบทางด้านโมเลกุลของ HPV ร่วมกับการตรวจเซลวิทยา ให้ผลที่เป็นไปได้หลายอย่าง โดยมีความแตกต่างที่สัมพันธ์ความเสี่ยงของภาวะก่อนที่จะเป็นมะเร็งและภาวะที่เป็นมะเร็ง (precancer and cancer) โดยกลยุทธ์ในการดูแลชี้นำโดยขนาดของความเสี่ยง
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-The Clinical Problem
-Strategies and Evidence
-Areas of Uncertainty
Cost-Effectiveness of Various Screening Strategies
Management of Positive Screening Cotests
-Guidelines
-Conclusions and Recommendations
-Source Information
อ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMcp1210379
N Engl J Med December 12, 2013
Key clinical points
-การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในประเทศสหรัฐอเมริกาไม่ควรเริ่มต้นจนกระทั่งอายุ 21 ปี เนื่องจากวัยรุ่นที่มีความเสี่ยงต่ำมากสำหรับโรคมะเร็งปากมดลูก แต่มีอัตราการติดเชื้อ papillomavirus (HPV) แบบชั่วคราวในอัตราที่สูง และมีความสัมพันธ์กับความผิดปกติของเซลแบบเล็กน้อย
-ความเสี่ยงของภาวะก่อนที่จะเป็นมะเร็ง (precancer) และมะเร็งปากมดลูกต่ำมากหลังจากปีที่มีการตรวจเชื้อ HPV ว่าเป็นผลลบ
-สำหรับผู้หญิงในประเทศสหรัฐอเมริกาที่มีอายุ 30 ปีหรือมากกว่า (ซึ่งผ่านอายุที่มีการติดเชื้อเอชพีวีสูงสุดมาใหม่ๆ) การตรวจเซลวิทยา (cytologic) และการตรวจร่วม (cotesting) สำหรับ HPV อื่นๆ ทุกๆ 5 ปี เป็นทางเลือกที่ได้รับการยอมรับของการตรวจเซลวิทยาอย่างเดียว ทุกๆ 3 ปี
-การทดสอบทางด้านโมเลกุลของ HPV ร่วมกับการตรวจเซลวิทยา ให้ผลที่เป็นไปได้หลายอย่าง โดยมีความแตกต่างที่สัมพันธ์ความเสี่ยงของภาวะก่อนที่จะเป็นมะเร็งและภาวะที่เป็นมะเร็ง (precancer and cancer) โดยกลยุทธ์ในการดูแลชี้นำโดยขนาดของความเสี่ยง
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-The Clinical Problem
-Strategies and Evidence
-Areas of Uncertainty
Cost-Effectiveness of Various Screening Strategies
Management of Positive Screening Cotests
-Guidelines
-Conclusions and Recommendations
-Source Information
อ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMcp1210379
วันพุธที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2556
2,605 Start antihypertensive therapy early for acute stroke
Start antihypertensive therapy early for acute stroke
Hooman Kamel, MD reviewing He J et al. JAMA 2013 Nov 17
การทดลองทางคลินิกยังไม่ได้ข้อสรุปเกี่ยวกับการให้การรักษาความดันโลหิตสูงในระหว่างการรักษาในโรงพยาบาลของโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลัน เพื่อการเติมเต็มช่องว่างความรู้นี้นักวิจัยได้ดำเนินการศึกษาใน China Antihypertensive Trial in Acute Ischemic Stroke (CATIS)
เมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุม กลุ่มที่ให้การรักษามีค่าของความดันโลหิตตัวบน (SBP) เฉลี่ยต่ำลง 9.1 มิลลิเมตรปรอทที่ 24 ชั่วโมงและลดลง 9.2 มิลลิเมตรปรอทที่ 7 วัน อัตราของผลลัพท์หลัก (การเสียชีวิตหรือ modified Rankin Scale score ตั้งแต่ 3 ขึ้นไป) ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญระหว่างกลุ่มที่ออกจากโรงพยาบาลหรือที่ 3 เดือน
ณ เมื่อเวลา 3 เดือน, กลุ่มที่ให้การรักษา (85% ได้รับยาลดความดันโลหิต) มีความดันโลหิตตัวบนต่ำลงอย่างมีนัยสำคัญ (2.9 มิลลิเมตรปรอท) มากกว่ากลุ่มควบคุม (75% ได้รับยาลดความดันโลหิต) และไม่มีนัยสำคัญของอัตราการลดลงของโรคหลอดเลือดสมองกำเริบ (1.4% เมื่อเทียบกับ 2.2%)
Ref: http://www.jwatch.org/na32907/2013/12/09/start-antihypertensive-therapy-early-acute-stroke
Hooman Kamel, MD reviewing He J et al. JAMA 2013 Nov 17
การทดลองทางคลินิกยังไม่ได้ข้อสรุปเกี่ยวกับการให้การรักษาความดันโลหิตสูงในระหว่างการรักษาในโรงพยาบาลของโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลัน เพื่อการเติมเต็มช่องว่างความรู้นี้นักวิจัยได้ดำเนินการศึกษาใน China Antihypertensive Trial in Acute Ischemic Stroke (CATIS)
เมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุม กลุ่มที่ให้การรักษามีค่าของความดันโลหิตตัวบน (SBP) เฉลี่ยต่ำลง 9.1 มิลลิเมตรปรอทที่ 24 ชั่วโมงและลดลง 9.2 มิลลิเมตรปรอทที่ 7 วัน อัตราของผลลัพท์หลัก (การเสียชีวิตหรือ modified Rankin Scale score ตั้งแต่ 3 ขึ้นไป) ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญระหว่างกลุ่มที่ออกจากโรงพยาบาลหรือที่ 3 เดือน
ณ เมื่อเวลา 3 เดือน, กลุ่มที่ให้การรักษา (85% ได้รับยาลดความดันโลหิต) มีความดันโลหิตตัวบนต่ำลงอย่างมีนัยสำคัญ (2.9 มิลลิเมตรปรอท) มากกว่ากลุ่มควบคุม (75% ได้รับยาลดความดันโลหิต) และไม่มีนัยสำคัญของอัตราการลดลงของโรคหลอดเลือดสมองกำเริบ (1.4% เมื่อเทียบกับ 2.2%)
Ref: http://www.jwatch.org/na32907/2013/12/09/start-antihypertensive-therapy-early-acute-stroke
วันอังคารที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2556
2,604 ว่าด้วยเรื่อง Plasmacytoma
Plasmacytoma หมายถึงมะเร็งชนิดพลาสม่าเซลล์ที่เจริญเติบโตภายในเนื้อเยื่ออ่อน (soft tissue) หรือภายในโครงกระดูกแกนกลางของร่างกาย (axial skeleton) โดยแบ่งได้เป็น 3 กลุ่มที่แตกต่างของ กำหนดโดย International Myeloma Working Group ได้แก่
1. Solitary plasmacytoma of bone (SPB)
2. Extramedullary plasmacytoma (EP)
3. Multiple plasmacytomas
โดยที่ SPB พบได้บ่อยที่สุดคือ 3-5% มะเร็งพลาสม่าเซลล์ ซึ่ง SPB จะเกิดรอยกระดูกถูกทำลาย (lytic lesions) ภายในโครงกระดูกแกนกลางของร่างกาย และ EP ส่วนใหญ่มักเกิดในทางเดินหายใจส่วนบน (85%) แต่ก็สามารถเกิดได้ในเนื้อเยื่ออ่อนอื่นๆ ของร่างกายประมาณครึ่งหนึ่งของผู้ป่วยจะมีโปรตีนที่ผิดปกติในเลือด (paraproteinemia)
SBP และ EP มักจะให้การรักษาด้วยการฉายแสง แต่ใช้การผ่าตัดในบางกรณีของ EP รูปแบบที่เกิดขึ้นในโครงร่างนี้บ่อยครั้งที่ดำเนินไปสู่การเป็น multiple myeloma ในช่วงเวลา 2-4 ปี เนื่องจากความคล้ายคลึงกันของเซลล์ ซึ่ง plasmacytomas สามารถจะเปลี่ยนแปลงมาจาก multiple myeloma สำหรับ SPB กับ EP จะแยกกันที่ตำแหน่ง โดย SPB เกิดในกระดูกส่วน EP เกิดในเนื้อเยื่ออ่อน (โดยในไขกระดูกที่ปกติจะมีพลาสม่าเซลล์น้อยกว่า 5% ส่วนในการเอกซเรย์ดูกระดูกชนิด skeletal survey โดยปกติจะไม่มีหรือมี paraprotein และการทำลายอวัยวะได้น้อย)
โดย plasmacytoma อาจจะมีชื่อเรียกอื่นได้ เช่น plasma cell dyscrasia หรือ solitary myeloma
Ref: http://en.wikipedia.org/wiki/Plasmacytoma
1. Solitary plasmacytoma of bone (SPB)
2. Extramedullary plasmacytoma (EP)
3. Multiple plasmacytomas
โดยที่ SPB พบได้บ่อยที่สุดคือ 3-5% มะเร็งพลาสม่าเซลล์ ซึ่ง SPB จะเกิดรอยกระดูกถูกทำลาย (lytic lesions) ภายในโครงกระดูกแกนกลางของร่างกาย และ EP ส่วนใหญ่มักเกิดในทางเดินหายใจส่วนบน (85%) แต่ก็สามารถเกิดได้ในเนื้อเยื่ออ่อนอื่นๆ ของร่างกายประมาณครึ่งหนึ่งของผู้ป่วยจะมีโปรตีนที่ผิดปกติในเลือด (paraproteinemia)
SBP และ EP มักจะให้การรักษาด้วยการฉายแสง แต่ใช้การผ่าตัดในบางกรณีของ EP รูปแบบที่เกิดขึ้นในโครงร่างนี้บ่อยครั้งที่ดำเนินไปสู่การเป็น multiple myeloma ในช่วงเวลา 2-4 ปี เนื่องจากความคล้ายคลึงกันของเซลล์ ซึ่ง plasmacytomas สามารถจะเปลี่ยนแปลงมาจาก multiple myeloma สำหรับ SPB กับ EP จะแยกกันที่ตำแหน่ง โดย SPB เกิดในกระดูกส่วน EP เกิดในเนื้อเยื่ออ่อน (โดยในไขกระดูกที่ปกติจะมีพลาสม่าเซลล์น้อยกว่า 5% ส่วนในการเอกซเรย์ดูกระดูกชนิด skeletal survey โดยปกติจะไม่มีหรือมี paraprotein และการทำลายอวัยวะได้น้อย)
โดย plasmacytoma อาจจะมีชื่อเรียกอื่นได้ เช่น plasma cell dyscrasia หรือ solitary myeloma
Ref: http://en.wikipedia.org/wiki/Plasmacytoma
วันจันทร์ที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2556
2,603 แนวทางปฏิบัติการป้องกันท่อช่วยหายใจเลื่อนหลุด
โดย คณะแพทยศาสตร์ ม.นเรศวร
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-หลักการและเหตุผล
-วัตถุประสงค์
-วิธีปฏิบัติ
-แนวทางการติดยึดท่อช่วยหายใจโดยการใช้พลาสเตอร์
-แบบประเมินแนวทางในการเฝ้าระวังและการป้องกันท่อช่วยหายใจเลื่อนหลุด
ลิ้งค์ดาวน์โหลด ลิ้งค์
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-หลักการและเหตุผล
-วัตถุประสงค์
-วิธีปฏิบัติ
-แนวทางการติดยึดท่อช่วยหายใจโดยการใช้พลาสเตอร์
-แบบประเมินแนวทางในการเฝ้าระวังและการป้องกันท่อช่วยหายใจเลื่อนหลุด
ลิ้งค์ดาวน์โหลด ลิ้งค์
วันอาทิตย์ที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2556
2,602 ยาที่ใช้ในการรักษาเชื้อราที่เล็บ
การรักษาด้วยยา systemic antifungals มีประสิทธิภาพเป็นอย่างมาก โดยการใช้ terbinafine ทำให้หายขาดได้ 76%, itraconazole แบบให้เป็นช่วงๆ 63%, itraconazole แบบให้ต่อเนื่อง 59% และ 48% สำหรับ fluconazole ซึ่งการให้การรักษาร่วมกับการตัดแต่งเล็บจะเพิ่มอัตราการหายมากขึ้น การให้การรักษาเฉพาะที่ด้วย ciclopirox มีประสิทธิภาพน้อย โดยมีอัตราความไม่สำเร็จเกินกว่า 60%
การรักษาแบบอื่นๆ ได้รับการประเมิน โดยที่การรักษาด้วยเลเซอร์และ photodynamic แสดงให้เห็นผลในการศึกษาทดลองแต่ยังต้องการการศึกษาทางคลินิกที่มากขึ้น แม้จะให้การรักษาแต่อัตราการกำเริบอยู่ที่ 10- 50% เป็นผลมาจากการติดเชื้อซ้ำหรือการที่เชื้อรารักษาไม่หายขาด
Ref: Onychomycosis: Current trends in diagnosis and treatment
http://www.aafp.org/afp/2013/1201/p762.html
การรักษาแบบอื่นๆ ได้รับการประเมิน โดยที่การรักษาด้วยเลเซอร์และ photodynamic แสดงให้เห็นผลในการศึกษาทดลองแต่ยังต้องการการศึกษาทางคลินิกที่มากขึ้น แม้จะให้การรักษาแต่อัตราการกำเริบอยู่ที่ 10- 50% เป็นผลมาจากการติดเชื้อซ้ำหรือการที่เชื้อรารักษาไม่หายขาด
Ref: Onychomycosis: Current trends in diagnosis and treatment
http://www.aafp.org/afp/2013/1201/p762.html
วันเสาร์ที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2556
2,601 ความแตกต่างของคำว่า macrocytic anemia และ megaloblastic anemia
คำว่า macrocytic anemia จะเป็นกล่าวถึงการมีภาะซีดที่มีเม็ดเลือดแดงขนาดใหญ่กว่าปกติ โดย MCV มากกว่า 100 ซึ่งมีสาเหตุได้มากมาย เช่น การขาดสารอาหารบางชนิด ยา ความผิดปกติของไขกระดูก และอื่นๆ โดยสามารถแบ่งได้เป็น megaloblastic และ nonmegaloblastic ซึ่งสามารถตรวจวินิจฉัยได้จากการตรวจไขกระดูกและการตรวจทางห้องปฏิบัติการต่างๆ ส่วน megaloblastic anemia เป็นความผิดปกติจากการเจริญเติบโต (inhibition of DNA synthesis) โดยมีลักษณะของเม็ดเลือดแดงโตกว่าปกติมักจะเน้นที่เกิดจาก folic acid หรือ vitamin B12 deficiencies เป็นหลัก ซึ่งจะพบมี hypersegmented neutrophils และ oval macrocytes ในเลือดหรือพบ megaloblasts ในไขกระดูก ส่วน nonmegaloblastic จะมีเม็ดเลือดแดงโตโดยไม่มีความผิดปกติในการสังเคราะห์ DNA ซึ่งสามารถสามารถอ่านรายละเอียดตามอ้างอิงทางด้านล่างครับ
Ref: http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC1570488/
http://enotes.tripod.com/anemia-macrocytic.htm
Ref: http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC1570488/
http://enotes.tripod.com/anemia-macrocytic.htm
วันศุกร์ที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2556
2,600 การเปลี่ยนแปลงของ eschar ที่ผิวหนังในไข้แมงแดง หรือโรคสครับไทฟัส (scrub typhus)
การเปลี่ยนแปลงของ eschar ในไข้แมงแดง หรือโรคสครับไทฟัส (scrub typhus) นานๆ จะเห็นภาพการเปลี่ยนแปลงของ eschar ซึ่งภาพที่เห็นนี้เป็นการถ่ายโดยนักศึกษาพยาบาลที่ศึกษากรณีผู้ป่วยที่เป็นไข้สูงมา 1 สัปดาห์และตรวจพบรอยโรคที่คอด้านขวา โดยจะมีการเปลี่ยนแปลงตามระยะเวลาดังภาพด้านล่าง
ขอขอบคุณนักศึกษาพยาบาลจากมหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุลสำหรับรูปภาพครับ
วันพฤหัสบดีที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2556
2,599 Targeted temperature management at 33°C versus 36°C after cardiac arrest
Original article
N Engl J Med December 5, 2013
ที่มา: ผู้หมดสติที่รอดชีวิตจากการมีภาวะหัวใจหยุดทำงานที่เกิดภายนอกโรงพยาบาล มีความเสี่ยงสูงของการเสียชีวิตหรือการทำงานของระบบประสาทผิดปกติ การรักษาโดยการลดอุณหภูมิร่างกายได้รับคำแนะนำตามแนวทางระหว่างประเทศ (international guidelines) แต่หลักฐานที่สนับสนุนยังมีจำกัด และอุณหภูมิเป้าหมายที่ก่อให้เกิดผลที่ดีที่สุดยังไม่เป็นที่ทราบ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบทั้งสองอุณหภูมิเป้าหมาย
วิธีการศึกษา: ในการศึกษาระหว่างประเทศเราทำการสุ่มผู้ใหญ่จำนวน 950 คน ที่มีภาวะหัวใจหยุดที่เกิดภายนอกโรงพยาบาล โดยมีอุณหภูมิเป้าหมายทั้ง 33 °C หรือ 36 °C ผลลัพท์หลักคือทุกสาเหตุของการเสียชีวิตในช่วงตลอดเวลาที่ทำการศึกษา ผลลัพธ์รองได้แก่การทำงานของระบบประสาทที่ผิดปกติหรือการเสียชีวิตที่ 180 วัน ซึ่งประเมินการทำของสมองโดยใช้ Cerebral Performance Category (CPC) scale และ modified Rankin scale
ผลการศึกษา: มีผู้ป่วยจำนวน 939 คน พบว่าในช่วงท้ายของการศึกษา 50% ของผู้ป่วยในกลุ่มที่อุณหภูมิ 33 °C (235 คนจาก 473 คน) เสียชีวิตในขณะที่เมื่อเทียบกับ 48% ของผู้ป่วยในกลุ่มที่ 36 °C
(225 คนจาก 466 คน) เสียชีวิต (hazard ratio with a temperature of 33 °C, 1.06; 95% confidence interval [CI], 0.89-1.28, P = 0.51)
ณ การติดตาม 180 วัน 54% ของผู้ป่วยในกลุ่มที่ 33 °C พบว่ามีการเสียชีวิตหรือมีการทำงานของระบบประสาทผิดปกติโดยการใช้ CPC เทียบกับ 52% ของผู้ป่วยในกลุ่มที่ 36 ° C (risk ratio 1.02 95% CI, 0.88-1.16, P = 0.78) ในการวิเคราะห์การใช้ modified Rankin scale เปรียบเทียบกับ 52% ในทั้งสองกลุ่ม (risk ratio 1.01, 95% CI, 0.89-1.14, P = 0.87) ผลของการวิเคราะห์การปรับปัจจัยการพยากรณ์มีความคล้ายคลึงกัน
สรุป: ผู้หมดสติที่รอดชีวิตจากการมีภาวะหัวใจหยุดทำงานจากภายนอกโรงพยาบาล (ที่สันนิษฐานว่ามีสาเหตุมาจากหัวใจ), การลดอุณหภูมิร่างกายตามเป้าหมายที่ 33 °C ไม่ได้ให้ประโยชน์เมื่อเทียบกับที่อุณหภูมิ 36 °C
Ref: http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMoa1310519?query=featured_home
N Engl J Med December 5, 2013
ที่มา: ผู้หมดสติที่รอดชีวิตจากการมีภาวะหัวใจหยุดทำงานที่เกิดภายนอกโรงพยาบาล มีความเสี่ยงสูงของการเสียชีวิตหรือการทำงานของระบบประสาทผิดปกติ การรักษาโดยการลดอุณหภูมิร่างกายได้รับคำแนะนำตามแนวทางระหว่างประเทศ (international guidelines) แต่หลักฐานที่สนับสนุนยังมีจำกัด และอุณหภูมิเป้าหมายที่ก่อให้เกิดผลที่ดีที่สุดยังไม่เป็นที่ทราบ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบทั้งสองอุณหภูมิเป้าหมาย
วิธีการศึกษา: ในการศึกษาระหว่างประเทศเราทำการสุ่มผู้ใหญ่จำนวน 950 คน ที่มีภาวะหัวใจหยุดที่เกิดภายนอกโรงพยาบาล โดยมีอุณหภูมิเป้าหมายทั้ง 33 °C หรือ 36 °C ผลลัพท์หลักคือทุกสาเหตุของการเสียชีวิตในช่วงตลอดเวลาที่ทำการศึกษา ผลลัพธ์รองได้แก่การทำงานของระบบประสาทที่ผิดปกติหรือการเสียชีวิตที่ 180 วัน ซึ่งประเมินการทำของสมองโดยใช้ Cerebral Performance Category (CPC) scale และ modified Rankin scale
ผลการศึกษา: มีผู้ป่วยจำนวน 939 คน พบว่าในช่วงท้ายของการศึกษา 50% ของผู้ป่วยในกลุ่มที่อุณหภูมิ 33 °C (235 คนจาก 473 คน) เสียชีวิตในขณะที่เมื่อเทียบกับ 48% ของผู้ป่วยในกลุ่มที่ 36 °C
(225 คนจาก 466 คน) เสียชีวิต (hazard ratio with a temperature of 33 °C, 1.06; 95% confidence interval [CI], 0.89-1.28, P = 0.51)
ณ การติดตาม 180 วัน 54% ของผู้ป่วยในกลุ่มที่ 33 °C พบว่ามีการเสียชีวิตหรือมีการทำงานของระบบประสาทผิดปกติโดยการใช้ CPC เทียบกับ 52% ของผู้ป่วยในกลุ่มที่ 36 ° C (risk ratio 1.02 95% CI, 0.88-1.16, P = 0.78) ในการวิเคราะห์การใช้ modified Rankin scale เปรียบเทียบกับ 52% ในทั้งสองกลุ่ม (risk ratio 1.01, 95% CI, 0.89-1.14, P = 0.87) ผลของการวิเคราะห์การปรับปัจจัยการพยากรณ์มีความคล้ายคลึงกัน
สรุป: ผู้หมดสติที่รอดชีวิตจากการมีภาวะหัวใจหยุดทำงานจากภายนอกโรงพยาบาล (ที่สันนิษฐานว่ามีสาเหตุมาจากหัวใจ), การลดอุณหภูมิร่างกายตามเป้าหมายที่ 33 °C ไม่ได้ให้ประโยชน์เมื่อเทียบกับที่อุณหภูมิ 36 °C
Ref: http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMoa1310519?query=featured_home
วันพุธที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2556
2,598 สภาวะการว่ายน้ำเป็น-ทักษะการช่วยเหลือตนเอง/ผู้อื่นของเด็กไทย และหนังสือหลักสูตรว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดและคู่มือการสอน
ในปี พ.ศ.2556 นี้ กรมควบคุมโรค โดยสำนักโรคไม่ติดต่อได้ร่วมกับสถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประเมินผลการว่ายน้ำเป็นของเด็กไทย(อายุ 5-14 ปี) พบว่าเด็กไทยช่วงอายุดังกล่าว ซึ่งมีกว่า 8 ล้านคน ว่ายน้ำเป็นเพียงร้อยละ 23.7 หรือประมาณ 2 ล้านคน แต่สามารถว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดได้เพียงร้อยละ 4.4 หรือ 367,704 คน และพบว่าเด็กที่เรียนหลักสูตรว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด จะมีทักษะการเอาชีวิตรอดในน้ำมากกว่าเด็กที่ไม่ได้เรียนถึง 20.7 เท่า มีความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำ มากกว่าเด็กที่ไม่ได้เรียนถึง 7.4 เท่า และจะมีทักษะการช่วยเหลือคนตกน้ำ/จมน้ำ และการแก้ไขปัญหาและการเอาชีวิตรอดในสถานการณ์ฉุกเฉิน มากกว่าเด็กที่ไม่ได้เรียนถึง 2.7 เท่า และ 2.8 เท่า ตามลำดับ ซึ่งการว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดได้เป็นมาตรการหนึ่งที่สามารถช่วยป้องกันการจมน้ำได้โดยเฉพาะในกลุ่มวัยเรียน แม้การว่ายน้ำเป็นจะเพิ่มขึ้นจากที่สำรวจเมื่อปี 2549 ซึ่งพบว่าเด็กไทยว่ายน้ำเป็นร้อยละ 16.3 แต่ยังอยู่ในสัดส่วนที่ต่ำมากเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศที่พัฒนาแล้ว อีกทั้งสัดส่วนการว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด ซึ่งเป็นมาตรการสำคัญอันหนึ่งในการป้องกันการจมน้ำของเด็กวัยเรียนอยู่ในระดับที่ต่ำมาก ทั้งนี้หน่วยงานไหนที่สนใจหนังสือหลักสูตรว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดและคู่มือการสอนที่ต้องการนำไปขยายผลให้กับเด็กในพื้นที่สามารถขอได้ที่สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค โดยสามารถดาวน์โหลดได้ตาม ลิ้งค์ นี้ครับ
Ref: http://www.ddc.moph.go.th/pnews/showimgdetil.php?id=773
Ref: http://www.ddc.moph.go.th/pnews/showimgdetil.php?id=773
วันอังคารที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2556
2,597 คำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับการทำหมันชาย
Common questions about vasectomy
December 1 2013 Vol. 88 No. 11
American Family Physician
การทำหมันชายมีความปลอดภัย มีประสิทธิภาพ และเป็นวิธีการคุมกำเนิดเพศชายที่ถาวร โดยมีอัตราความล้มเหลวโดยรวมน้อยกว่า 1% ในการศึกษาโดยรวบรวมผู้ชายที่มีอายุมากกว่า 30 ปี ที่แข็งแรงมีความเหมาะสมสำหรับการทำหมัน
เทคนิคที่ไม่ใช้การผ่าตัดช่วยลดภาวะแทรกซ้อนการผ่าตัด ลดระยะเวลาการผ่าตัดและกลับมามีกิจกรรมทางเพศได้เร็วขึ้น การใช้หัวฉีดเจ็ทแทนเข็มที่ใช้ให้ยาชาเฉพาะที่ (no-needle vasectomy) อาจจะลดอาการปวด
การมีเลือดออกและการติดเชื้อเป็นภาวะแทรกซ้อนระยะสั้นของการหมัน ส่วนภาวะแทรกซ้อนในระยะยาวรวมถึง sperm granuloma และ postvasectomy pain syndrome การวิเคราะห์น้ำอสุจิภายหลังการทำหมันชายจะพบการไม่มีเชื้ออสุจิหลังจากสามเดือนและ 20 ครั้งของการหลั่งจึงจะเพียงพอที่จะเกิดการเป็นหมัน การแก้หมันชายยามีแนวโน้มที่จะประสบความสำเร็จหากทำมาน้อยกว่า 15 ปีในผู้ชายที่มีภรรยาอายุน้อยกว่า 40 ปี
ลิ้งค์ http://www.aafp.org/afp/2013/1201/p757.html
December 1 2013 Vol. 88 No. 11
American Family Physician
การทำหมันชายมีความปลอดภัย มีประสิทธิภาพ และเป็นวิธีการคุมกำเนิดเพศชายที่ถาวร โดยมีอัตราความล้มเหลวโดยรวมน้อยกว่า 1% ในการศึกษาโดยรวบรวมผู้ชายที่มีอายุมากกว่า 30 ปี ที่แข็งแรงมีความเหมาะสมสำหรับการทำหมัน
เทคนิคที่ไม่ใช้การผ่าตัดช่วยลดภาวะแทรกซ้อนการผ่าตัด ลดระยะเวลาการผ่าตัดและกลับมามีกิจกรรมทางเพศได้เร็วขึ้น การใช้หัวฉีดเจ็ทแทนเข็มที่ใช้ให้ยาชาเฉพาะที่ (no-needle vasectomy) อาจจะลดอาการปวด
การมีเลือดออกและการติดเชื้อเป็นภาวะแทรกซ้อนระยะสั้นของการหมัน ส่วนภาวะแทรกซ้อนในระยะยาวรวมถึง sperm granuloma และ postvasectomy pain syndrome การวิเคราะห์น้ำอสุจิภายหลังการทำหมันชายจะพบการไม่มีเชื้ออสุจิหลังจากสามเดือนและ 20 ครั้งของการหลั่งจึงจะเพียงพอที่จะเกิดการเป็นหมัน การแก้หมันชายยามีแนวโน้มที่จะประสบความสำเร็จหากทำมาน้อยกว่า 15 ปีในผู้ชายที่มีภรรยาอายุน้อยกว่า 40 ปี
ลิ้งค์ http://www.aafp.org/afp/2013/1201/p757.html
วันจันทร์ที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2556
2,596 Malignant spinal cord compression syndrome
บทความฟื้นวิชา
โดย อ. กานดิษฎ์ ประยงค์รัตน์
สาขาวิชาโลหิตวิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ลิ้งค์
โดย อ. กานดิษฎ์ ประยงค์รัตน์
สาขาวิชาโลหิตวิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ลิ้งค์
วันอาทิตย์ที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2556
2,595 ความสัมพันธ์ระหว่างวัณโรคและโรคเอดส์ ผลกระทบของการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ต่อแผนงานควบคุมวัณโรคแห่งชาติ
การติดเชื้อเอชไอวี ทำให้ปัญหาวัณโรครุนแรงขึ้นหลายประการ คือ
• การติดเชื้อเอชไอวีทำให้การป่วยเป็นวัณโรค (TB disease) ลุกลามขึ้นทั้งในผู้ที่เพิ่งได้รับเชื้อวัณโรค
(recently acquired tuberculosis infection) และผู้ที่ได้รับเชื้อมาช่วงระยะเวลาหนึ่ง (latent tuberculosis infection) สาเหตุที่การติดเชื้อวัณโรคลุกลามจนทำให้ป่วยเป็นวัณโรค เนื่องจากระบบภูมิคุ้มกันอ่อนแอลง ทั้งนี้โอกาสที่ผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ติดเชื้อวัณโรคจะป่วยเป็นวัณโรคสูงถึงร้อยละ 10 ต่อปี
• การติดเชื้อเอชไอวีเพิ่มการป่วยเป็นวัณโรคซ้ำ (recurrent tuberculosis) จากสาเหตการลุกลามของเชื้อ วัณโรคเดิม (endogenous reactivation) หรือการรับเชื้อวัณโรคใหม่เข้าไปในร่างกาย (exogenous re-infection)
เพิ่มโอกาสในการติดเชื้อต่างๆ รวมทั้งเชื้อวัณโรคได้ง่าย (susceptibility) เมื่อมีผู้ติดเชื้อวัณโรคมากทำให้การป่วยเป็นวัณโรคเพิ่มขึ้น ได้แก่
• เพิ่มโอกาสในการเกิดปฏิกริยาระหว่างยารักษาโรคเอดส์และวัณโรค ทำให้อาการข้างเคียงของการรักษาวัณโรคสูงขึ้น
• อัตราการขาดยาสูงขึ้น
• จำนวนผู้ปวยวัณโรคเสียชีวิตจากการติดเชื้อเอชไอวีสูงขึ้น
• เพิ่มปริมาณงานในการให้บริการการรักษาวัณโรค
• การเขาถึงระบบบริการสุขภาพล่าช้าในผู้ที่มีอาการสงสัยว่าป่วยเป็นวัณโรค เนื่องจากความรู้สึกถูกรังเกียจที่เกี่ยวข้องกับโรคเอดส์
Ref: คู่มือ อบรมแนวทางมาตรฐานการดำเนินงานวัณโรคสำหรับคลีนิกวัณโรค
• การติดเชื้อเอชไอวีทำให้การป่วยเป็นวัณโรค (TB disease) ลุกลามขึ้นทั้งในผู้ที่เพิ่งได้รับเชื้อวัณโรค
(recently acquired tuberculosis infection) และผู้ที่ได้รับเชื้อมาช่วงระยะเวลาหนึ่ง (latent tuberculosis infection) สาเหตุที่การติดเชื้อวัณโรคลุกลามจนทำให้ป่วยเป็นวัณโรค เนื่องจากระบบภูมิคุ้มกันอ่อนแอลง ทั้งนี้โอกาสที่ผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ติดเชื้อวัณโรคจะป่วยเป็นวัณโรคสูงถึงร้อยละ 10 ต่อปี
• การติดเชื้อเอชไอวีเพิ่มการป่วยเป็นวัณโรคซ้ำ (recurrent tuberculosis) จากสาเหตการลุกลามของเชื้อ วัณโรคเดิม (endogenous reactivation) หรือการรับเชื้อวัณโรคใหม่เข้าไปในร่างกาย (exogenous re-infection)
เพิ่มโอกาสในการติดเชื้อต่างๆ รวมทั้งเชื้อวัณโรคได้ง่าย (susceptibility) เมื่อมีผู้ติดเชื้อวัณโรคมากทำให้การป่วยเป็นวัณโรคเพิ่มขึ้น ได้แก่
• เพิ่มโอกาสในการเกิดปฏิกริยาระหว่างยารักษาโรคเอดส์และวัณโรค ทำให้อาการข้างเคียงของการรักษาวัณโรคสูงขึ้น
• อัตราการขาดยาสูงขึ้น
• จำนวนผู้ปวยวัณโรคเสียชีวิตจากการติดเชื้อเอชไอวีสูงขึ้น
• เพิ่มปริมาณงานในการให้บริการการรักษาวัณโรค
• การเขาถึงระบบบริการสุขภาพล่าช้าในผู้ที่มีอาการสงสัยว่าป่วยเป็นวัณโรค เนื่องจากความรู้สึกถูกรังเกียจที่เกี่ยวข้องกับโรคเอดส์
Ref: คู่มือ อบรมแนวทางมาตรฐานการดำเนินงานวัณโรคสำหรับคลีนิกวัณโรค
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)