Clinical practice
N Engl J Med June 13, 2013
Key clinical points
-การเจ็บป่วยที่เกิดจากการขึ้นไปอยู่บนที่สูงอย่างฉับพลัน เกิดขึ้นในคนที่ยังไม่ได้ปรับสภาพในช่วงวันแรก ๆ ที่ระดับความสูง 2,500 เมตรหรือสูงกว่า ซึ่งมีอุบัติการแตกต่างกันตามลักษณะของผู้ป่วยและประวัติ
-อาการปวดศีรษะเป็นอาการหลักของความเจ็บป่วยจากการขึ้นไปอยู่บนที่สูงอย่างฉับพลัน (acute mountain sickness) ถ้าไม่ได้รับการรักษาอย่างเพียงพอ อาจสามารถนำไปสู่ภาวะความรุนแรงต่อชีวิตคือมีสมองหรือปอดบวมน้ำ
-การเจ็บป่วยที่เกิดจากการอยู่ในที่สูงสามารถป้องกันได้โดยขึ้นไปที่ระดับ 300-500 เมตรต่อวันในการจะไปที่ระดับความสูงที่มากกว่า 3,000 เมตร และรวมถึงการมีวันที่หยุดพักทุกๆ 3 ถึง 4 วัน
-ความเสี่ยงต่อความเจ็บป่วยจากการขึ้นไปอยู่บนที่สูงอย่างฉับพลันและการมีสมองบวมจะลดลงได้ด้วยการใช้ acetazolamide หรือ dexamethasone; ความเสี่ยงของอาการบวมน้ำที่ปอดจะลดลงด้วยการใช้ nifedipine, phosphodiesterase-5 inhibitors หรือ dexamethasone
-ความเจ็บป่วยจากการขึ้นไปอยู่บนที่สูงอย่างฉับพลันอาจจะรับการรักษาโดยการมีวันที่พักและการใช้ NSAIDS สำหรับอาการปวดศรีษะ แต่เมื่อรุนแรงขึ้น การลงจากที่สูงหรือการให้ออกซิเจนถือเป็นสิ่งบ่งชี้ โดย dexamethasone มีข้อบ่งชี้สำหรับความเจ็บป่วยจากการขึ้นไปอยู่บนที่สูงอย่างฉับพลันหรือการมีสมองบวม และ nifedipine หรือ phosphodiesterase-5 inhibitors มีข้อบ่งชี้สำหรับอาการปอดบวมน้ำ ซึ่งการรักษาด้วยยาเหล่านี้ควรจะตามด้วยการลงจากที่สูงให้เร็วที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-The Clinical Problem
Acute Mountain Sickness
High-Altitude Cerebral Edema
High-Altitude Pulmonary Edema
-Strategies and Evidence
Risk Assessment
Other Assessments
Prevention
Treatment
-Areas of Uncertainty
-Guidelines
-Conclusions and Recommendations
-Source Information
-Key Clinical Points
อ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMcp1214870
เพื่อการเรียนรู้ medicine และสุขภาพที่ดีของประชาชน (community hospital) * เดิมคือ Phimaimedicine.blogspot.com * ตอนนี้มาปฏิบัติงานอยู่ที่ รพ. ขนอม นครศรีธรรมราชครับ
วันพฤหัสบดีที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2556
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น