ปริมาณเกล็ดเลือด INR
-Paracentesis ≥30,000 ≤2.0
-Thoracentesis ≥50,000 ≤1.5
-Transbronchial Lung Biopsy ≥50,000 ≤1.5
-Subclav/IJ Line ≥30,000 ≤1.5
-Renal Biopsy ≥50,000 ≤1.5
-Liver Biopsy ≥50,000 ≤1.5
-Hickmann, Groshong Catheters ≥50,000 ≤1.5
ส่วนในแนวทางเวชปฏิบัติการให้เกล็ดเลือด สมาคมโลหิตวิทยาแห่งประเทศไทย กล่าวไว้ดังนี้
-การเจาะตรวจไขกระดูก (bone marrow aspiration และ biopsy) สามารถทำได้โดยไม่ต้องให้เกล็ดเลือด
-การเจาะหลัง , การฉีดยาชาเข้าช่อง epidural (epidural anesthesia), การส่องกล้องทางเดินอาหารรวมกับการตัดชิ้นเนื้อตรวจ (biopsy), การแทงสายเข้าหลอดเลือด (central venous catheter), การส่องกล้องทางเดินหายใจร่วมกับตัดชิ้นเนื้อตรวจ, การตัดชิ้นเนื้อตับเพื่อตรวจ หรือ การผ่าตัดช่องท้อง (laparotomy), normal labor ควรรักษาระดับเกล็ดเลือดให้มากกว่า 50,000 /mm3
- การผ่าตัดที่ระดับประสาทส่วนกลาง หรือตา หรือมีความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือดที่แก้ไขไม่ได้ร่วมด้วย ควรรักษาระดับเกล็ดเลือดให้มากกว่า 100,000 /mm3
โดยผู้ป่วยควรได้รับการตรวจระดับเกล็ดเลือดหลังได้เกล็ดเลือด เพื่อยืนยันว่าได้ระดับที่ต้องการ
หรือไม่ก่อนทำการผ่าตัด
Ref: http://www.psbc.org/therapy/ffp.htm
แนวทางเวชปฏิบัติการให้เกล็ดเลือด สมาคมโลหิตวิทยาแห่งประเทศไทย
เพื่อการเรียนรู้ medicine และสุขภาพที่ดีของประชาชน (community hospital) * เดิมคือ Phimaimedicine.blogspot.com * ตอนนี้มาปฏิบัติงานอยู่ที่ รพ. ขนอม นครศรีธรรมราชครับ
วันอาทิตย์ที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
2,318 ปริมาณเกล็ดเลือดและค่า INR ที่เหมาะสมก่อนการทำหัตถการหรือการผ่าตัด
ป้ายกำกับ:
hematology,
Procedure
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น