หน้าเว็บ

วันพฤหัสบดีที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2556

2,329 Management of antithrombotic therapy in patients undergoing invasive procedures

Review article
Current concept
N Engl J Med   May 30, 2013

ผู้ป่วยมากกว่า 6 ล้านคนในประเทศสหรัฐอเมริกา ได้รับการรักษาด้วยยาป้องกันการแข็งตัวของเลือดในระยะยาวเพื่อป้องกันการเกิดลิ่มเลือดอุดตันเนื่องจาก atrial fibrillation, การใส่ลิ้นหัวใจเทียมหรือหลอดเลือดดำอุดตัน นอกจากนี้การรักษาด้วยยาต้านเกล็ดเลือดสองตัวคู่กัน (การให้ยาร่วมกันระหว่างยา aspirin และ thienopyridine) หลังจากการใส่ขดลวดในหลอดเลือดหัวใจ ซึ่งมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว ทุกๆปี
10% ของผู้ป่วยที่ได้รับยาเพื่อป้องกันการเกิดลิ่มเลือดจะได้รับการผ่าตัดหรือหัตถการอื่น ๆ ที่จำเป็นต้องหยุดการรักษาชั่วคราว ถึงแม้ว่าเป้าหมายคือเพื่อลดเหตุการณ์ของการมีลิ่มเลือดอุดตันและการมีเลือดออกที่สำคัญในช่วงเวลาทีเกี่ยวเนื่องกับการผ่าตัด (periprocedural period)
ข้อมูลจากการทดลองควบคุมแบบสุ่มในเรื่องนี้ยังมีจำกัด และข้อเสนอแนะจำนวนมากจะได้มาจากการศึกษาแบบ cohorts ของแหล่งเดียว โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องเกี่ยวกับ bridging anticoagulation therapy นอกจากนี้ยังมีข้อมูลน้อยมากที่เกี่ยวกับอัตราการเกิดเลือดออกในหัตถการที่เฉพาะของกลุ่มประชากรนี้
แนวทางที่ได้จากสังคม-วิทยาศาสตร์โดยใช้ระดับของหลักฐาน เช่นเดียวกับการทบทวนบทความก่อนหน้านี้ได้ให้ทิศทางในการบริหารยาที่ใช้ป้องกันลิ่มเลือดในช่วงเวลาทีเกี่ยวเนื่องกับการผ่าตัด
บทนี้ได้ให้แนวทางและคำแนะนำที่มาจากการเปลี่ยนแปลงล่าสุดของแนวทางระดับชาติ สำหรับผู้ป่วยที่ได้รับการทำหัตถการที่ลุกล้ำในขณะที่ได้รับการให้ยาละลายลิ่มเลือด และรวมถึงยาป้องกันลิ่มเลือดใหม่ๆ
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-General Concepts
-Assessment of Thrombotic Risk
    Atrial Fibrillation
    Mechanical Heart Valves and Venous Thromboembolism
    Cancer
    Coronary Stents
-Assessment of Periprocedural Bleeding Risks
-Bridging Anticoagulation Therapy
-Timing of Cessation of Antithrombotic Therapy
    Warfarin
    Heparin
    Newer Anticoagulant Agents
-Antiplatelet Agents
    Traditional Antiplatelet Agents
    Other Antiplatelet Agents
-Inferior Vena Cava Filters
-Pharmacologic Reversal of Anticoagulation
    Antithrombotic Agents with Reversible Effects
    Antithrombotic Agents with Nonreversible Effects
-Resumption of Antithrombotic Therapy
-Recommendations
-Source Information

อ่านต่อโดยระเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMra1206531

1 ความคิดเห็น: