Review article
Drug therapy
N Engl J Med January 17, 2013
การรักษาหลอดเลือดหัวใจอุดตันโดยการใส่สายสวนผ่านจากทางผิวหนัง (percutaneous coronary intervention) ซึ่งผู้ริเริ่มคือ Gruntzig ในปี 1977 ได้กลายเป็นขบวนการของการรักษาที่มีการทำบ่อยที่สุดในทางการแพทย์ การใช้บอลลูนขยายหลอดเลือดซึ่งถูกจำกัดจากการปิดของหลอดทันทีทันใดเนื่องจากการฉีกเซาะและตีบตันซ้ำ ซึ่งกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาของขดลวดเพื่อให้รูของหลอดเลือดยังคงอยู่ การใส่ขดลวดเล็กๆ (stents) ที่หลอดเลือดหัวใจได้รับการปรับปรุงทำให้มีความปลอดภัยและมีประสิทธิภาพดีขึ้น และลดความจำเป็นในการผ่าตัดที่เตรียมไว้ในเวลาฉุกเฉิน อย่างไรก็ตามการใส่ขดลวดก่อให้เกิดการบาดเจ็บของหลอดเลือดกระตุ้นให้เกิดการเพิ่มจำนวนของเซลของใต้เยื่อบุชั้นในของหลอดเลือด (neointimal hyperplasia) นำไปสู่การตีบตันซ้ำและมีความจำเป็นในการขยายเส้นเลือดซ้ำได้ถึงหนึ่งในสามของผู้ป่วย
ขดลวดเคลือบยาร่วมกับการสารยับยั้งการแบ่งตัวของเซลล์ทำให้ลดความเสี่ยงอย่างต่อเนื่องของการที่จะต้องเปิดหลอดเลือดที่อุดตันซ้ำเมื่อเทียบกับขดลวดโลหะที่ไม่ได้เคลือบยา
อย่างไรก็จากการรายงานที่นำเสนอใน European Society of Cardiology Congress ในปี 2006 ยังมีคำถามถึงความปลอดภัยในระยะยาวของขดลวดที่เคลือบยา ซึ่งที่นำไปสู่การลดจำนวนการใช้ พร้อมกับการทบทวนที่เข้มข้นโดยหน่วยงานซึ่งกำกับดูแลและมีคำแนะนำในการขยายการให้ยาต้านเกล็ดเลือดร่วมกันสองชนิดเป็นเวลาอย่างน้อย 12 เดือน
บทความนี้แสดงให้เห็นถึงภาพรวมของสิ่งต่างๆ ที่สามารถใช้ได้ในขณะนี้ สรุปข้อมูลหลักฐานที่ได้การทดลองแบบสุ่ม และแสดงข้อบ่งชี้ทางคลินิกเพื่อการนำมาใช้
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-Platforms for Drug-Eluting Stents
Stent Platforms
Polymer Coatings
Antiproliferative Agents
FDA-Approved Drug-Eluting Stents
-Vascular Biology
Arterial Healing after Stent Implantation
Stent Thrombosis
-Efficacy and Safety of Drug-Eluting Stents
Stents Releasing Sirolimus or Paclitaxel
Everolimus-Eluting Stents
Zotarolimus-Eluting Stents
-Indications for Use of Drug-Eluting Stents
Stable Coronary Artery Disease
Acute Myocardial Infarction
Diabetes
Multivessel Disease
Left Main Coronary Artery Disease
-Antiplatelet Therapy
-Cost-Effectiveness
-Open Issues and Future Directions
Biodegradable Polymer Stents
Fully Bioresorbable Scaffolds
-Conclusions
-Source Information
อ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMra1210816
เพื่อการเรียนรู้ medicine และสุขภาพที่ดีของประชาชน (community hospital) * เดิมคือ Phimaimedicine.blogspot.com * ตอนนี้มาปฏิบัติงานอยู่ที่ รพ. ขนอม นครศรีธรรมราชครับ
วันพฤหัสบดีที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2556
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น