ซึ่งความแตกต่างของระดับของการเปลี่ยนความดัน (pressure gradient) คำนวนได้จากสมการของ Bernoulli
Pressure gradient = 4 x velocity แล้วนำผลที่ได้ยกกำลังสอง
โดยค่าเฉลี่ยความแตกต่างของระดับความดัน (mean gradient) อาจคำนวนเองหรือใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์คำนวน (ดังที่ได้จากภาพ) ความแตกต่างของระดับความดันที่มากแสดงถึงความรุนแรงของการตีบของลิ้น ข้อจำกัดของการประเมิน ซึ่งอาจต่ำกว่าความเป็นจริงเนื่องจาก การทำงานลดลงของหัวใจห้องล่างซ้ายจึงทำให้ไม่สามารถก่อให้เกิดความดันที่สูงได้ โดยดูจากความลาดชันที่มากกว่าจากฐานถึงยอด ventricular dp/dt สามารถคำนวนได้จากความลาดเอียงนี้ ventricular dp/dt ที่สูงขึ้นเป็นลักษณะหน้าที่ที่สำคัญของการบีบตัวของหัวใจห้องล่างซ้าย
สามารถนำข้อมูลมาประเมินภาวะลิ้นเอออร์ตาตีบได้ดังตารางด้านล่าง
Severity | Jet velocity (m/s) | Mean gradient (mmHg) | Area (cm2) |
Mild | <3 | 25 | >1.5 |
Moderate | 3-4 | 25-40 | 1-1.5 |
Severe | >4 | 40 | <1 |
การเปรียบเทียบ aortic valve area และ mean gradient
cm2 mm Hg
4 1.7
3 2.9
2 6.6
1 26
0.9 32
0.8 41
0.7 53
0.6 73
0.5 105
Ref: http://cardiophile.org/2008/10/continuous-wave-cw-doppler-imaging-in-aortic-stenosis/
https://www.stanford.edu/group/ccm_echocardio/cgi-bin/mediawiki/index.php/Aortic_stenosis_assessment
http://www.nejm.org/doi/pdf/10.1056/NEJMcp010846
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น