American Family Physician
February 15 2012 Vol. 85 No. 4
Acute respiratory distress syndrome (ARDS) มีลักษณะคือมีอาการหอบเหนื่อยที่เป็นมากขึ้นอย่างรวดเร็ว มีภาวะหัวใจเต้นเร็ว มีภาวะพร่องออกซิเจน เกณฑ์การวินิจฉัย ได้แก่ การเริ่มมีอาการแบบเฉียบพลัน, มีภาวะพร่องออกซิเจนอย่างรุนแรง ภาพเอกซเรย์ทรวงอกมี infiltration ในปอดทั้งสองข้าง และการไม่มีความดันสูงในหัวใจห้องบนซ้าย ภาวะนี้เชื่อว่าเกิดเมื่อในปอดหรือภายนอกปอดเกิดการปล่อยสารที่
เป็นสื่อกลางของการอักเสบ กระตุ้นให้นิวโทรฟิลมาสะสมในในระบบใหลเวียนของหลอดเลือดเล็ก ๆ ในปอด นิวโทรฟิลจะทำลายผิวชั้นในของหลอดเลือด (endothelium) และเซลผนังของถุงลม (alveolar epithelium) นำมาสู่การเกิดการมีน้ำเกินในปอด (pulmonary edema), เกิดการสร้าง hyaline membrane, ลดความยืดหยุ่นของปอด และเกิดความลำบากในการแลกเปลี่ยนก็าซ สาเหตุส่วนใหญ่จะสัมพันธ์กับภาวะปอดอักเสบหรือการติดเชื้อในกระแสเลือด ประมาณ 7.1% ของผู้ป่วยที่รักษาในห้องไอซียู และ 16.1% ของผู้ที่ใส่เครื่องช่วยหายใจจะเกิดภาวะการบาดเจ็บของปอดเฉียบพลัน (acute lung injury) หรือภาวะ ARDS นี้
ใน รพ. อัตราการเสียชีวิตสัมพันธ์กับภาวะนี้ประมาณ 34-55% และเสียชีวิตส่วนใหญ่มาจากอวัยวะหลายๆ อย่างล้มเหลว ภาวะนี้มักต้องแยกจากภาวะหัวใจล้มเหลวที่มีน้ำคั่ง (congestive heart failure) ซึ่งมักมีอาการแสดงของการมีน้ำเกิน ภาวะปอดอักเสบ การรักษาแบบ supporttive และการการใช้เครื่องช่วยหายใจ การป้องการ stress ulcers และป้องกัน thromboembolism ดูแลเรื่องโภชนาการ รักษาสาเหตุที่ก่อให้เกิด ARDS การใช้เครื่องช่วยหายใจโดยใช้ tidal volume น้อยๆ, positive end-expiratory pressure ที่สูง
และการดูแลเรื่องสารน้ำจะช่วยให้ผลลัพท์ดีขึ้น การให้ลองพยายามหายใจเองมีข้อบ่งชี้ในกรณีที่อาการดีขึ้นและสิ่งที่เป็นสาเหตุได้รับการแก้ไขแล้ว ผู้ป่วยที่รอดจากภาวะนี้มีความเสี่ยงต่อการลดลงของ functional capacity ของปอด, ความเจ็บป่วยทางด้านจิตใจ และลดคุณภาพชีวิต การดูแลต่อโดยแพทย์เวชปฏิบัติจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ป่วย
Ref: http://www.aafp.org/afp/2012/0215/p352.html
February 15 2012 Vol. 85 No. 4
Acute respiratory distress syndrome (ARDS) มีลักษณะคือมีอาการหอบเหนื่อยที่เป็นมากขึ้นอย่างรวดเร็ว มีภาวะหัวใจเต้นเร็ว มีภาวะพร่องออกซิเจน เกณฑ์การวินิจฉัย ได้แก่ การเริ่มมีอาการแบบเฉียบพลัน, มีภาวะพร่องออกซิเจนอย่างรุนแรง ภาพเอกซเรย์ทรวงอกมี infiltration ในปอดทั้งสองข้าง และการไม่มีความดันสูงในหัวใจห้องบนซ้าย ภาวะนี้เชื่อว่าเกิดเมื่อในปอดหรือภายนอกปอดเกิดการปล่อยสารที่
เป็นสื่อกลางของการอักเสบ กระตุ้นให้นิวโทรฟิลมาสะสมในในระบบใหลเวียนของหลอดเลือดเล็ก ๆ ในปอด นิวโทรฟิลจะทำลายผิวชั้นในของหลอดเลือด (endothelium) และเซลผนังของถุงลม (alveolar epithelium) นำมาสู่การเกิดการมีน้ำเกินในปอด (pulmonary edema), เกิดการสร้าง hyaline membrane, ลดความยืดหยุ่นของปอด และเกิดความลำบากในการแลกเปลี่ยนก็าซ สาเหตุส่วนใหญ่จะสัมพันธ์กับภาวะปอดอักเสบหรือการติดเชื้อในกระแสเลือด ประมาณ 7.1% ของผู้ป่วยที่รักษาในห้องไอซียู และ 16.1% ของผู้ที่ใส่เครื่องช่วยหายใจจะเกิดภาวะการบาดเจ็บของปอดเฉียบพลัน (acute lung injury) หรือภาวะ ARDS นี้
ใน รพ. อัตราการเสียชีวิตสัมพันธ์กับภาวะนี้ประมาณ 34-55% และเสียชีวิตส่วนใหญ่มาจากอวัยวะหลายๆ อย่างล้มเหลว ภาวะนี้มักต้องแยกจากภาวะหัวใจล้มเหลวที่มีน้ำคั่ง (congestive heart failure) ซึ่งมักมีอาการแสดงของการมีน้ำเกิน ภาวะปอดอักเสบ การรักษาแบบ supporttive และการการใช้เครื่องช่วยหายใจ การป้องการ stress ulcers และป้องกัน thromboembolism ดูแลเรื่องโภชนาการ รักษาสาเหตุที่ก่อให้เกิด ARDS การใช้เครื่องช่วยหายใจโดยใช้ tidal volume น้อยๆ, positive end-expiratory pressure ที่สูง
และการดูแลเรื่องสารน้ำจะช่วยให้ผลลัพท์ดีขึ้น การให้ลองพยายามหายใจเองมีข้อบ่งชี้ในกรณีที่อาการดีขึ้นและสิ่งที่เป็นสาเหตุได้รับการแก้ไขแล้ว ผู้ป่วยที่รอดจากภาวะนี้มีความเสี่ยงต่อการลดลงของ functional capacity ของปอด, ความเจ็บป่วยทางด้านจิตใจ และลดคุณภาพชีวิต การดูแลต่อโดยแพทย์เวชปฏิบัติจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ป่วย
Ref: http://www.aafp.org/afp/2012/0215/p352.html
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น