การคัดกรองโรคกระดูกพรุนนอกจากการใช้ Dual Energy X-ray Absorptiometry (DEXA scan) ยังสามารถใช้แบบคัดกรองเบื้องต้นซึ่งได้แก่
1. OSTA ย่อมาจาก Osteoporosis Self Assessment Tool for Asian เป็น Tool อย่างง่ายเพื่อคำนวณหา ความเสี่ยงของการเกิด Osteoposis โดยคำนวณจาก สูตร OSTA = 0.2 (ฺBody Weight (kg) - Age) ถ้าค่า <= -1 เป็น High Risk ถ้า >-1 แสดงว่า Low Risk
2. KKOS Score (Khon Kaen Osteoporosis Study Score) เป็น Tool เพื่อคัดกรองความเสี่ยงต่อ Osteoporosis คิดเป็นมหาิวิทยาลัยขอนแก่น ซึ่งใช้ตัวแปร 2 ตัวคืออายุ และน้ำหนักตัว มาคำนวณค่า ถ้าค่า <= -1 เป็น High Risk ถ้า >-1 แสดงว่า Low Risk ได้มีการทำศึกษาแล้วพบว่า KKOS score ให้ค่า Sensitivity และ Specificity ดีกว่า OSTA แต่มีวิธีการคิดที่ยุ่งยากกว่า
โดยสามารถทำการคำนวนแบบออนไลน์ ตามลิ้งด้านล่าง เพียงแค่ใส่ค่า อายุและน้ำหนักค่าก็จะออกมาและประเมินระดับความเสี่ยงให้ด้วยครับ
http://hpe4.anamai.moph.go.th/hpe/hp/OSTA_KKOS.php
เพื่อการเรียนรู้ medicine และสุขภาพที่ดีของประชาชน (community hospital) * เดิมคือ Phimaimedicine.blogspot.com * ตอนนี้มาปฏิบัติงานอยู่ที่ รพ. ขนอม นครศรีธรรมราชครับ
วันจันทร์ที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2555
1,565. Osteoporosis Self Assessment Tool for Asian และ Khon Kaen Osteoporosis Study Score
ป้ายกำกับ:
Geriatricology,
Musculoskeletal
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น