Clinical therapeutics
Engl J Med January 13, 2011
เนื่องจากมนุษย์ไม่มีความสามารถในการขับเหล็กส่วนเกิน การให้เลือดเป็นระยะนานเพียงอย่างเดียวไม่สามารถทำให้เกิดปัญหาของการมีธาตุเหล็กเกิน ในผู้ป่วยที่เป็นทาลัสซีเมียที่ได้รับการถ่ายเลือดตั้งแต่แรกเกิด ธาตุเหล็กจะทำให้เกิดโรคตับและความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่กำลังเจริญพัฒนาในวัยเด็ก และมักจะส่งผลให้เสียชีวิตจากพยาธิสภาพที่กล้ามเนื้อหัวใจจากธาตุเหล็กที่เกินเมื่อเข้าสู่ในวัยรุ่น ในผู้ป่วยที่มีโรคโลหิตจาง sickle cell ถึงแม้จะทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนจากธาตุเหล็กปรากฏในระยะหลังๆ แต่ในที่สุดโรคตับร่วมกับโรคตับแข็งรวมทั้งการสะสมธาตุเหล็กในหัวใจและตับอ่อนก็สามารถเกิดขึ้นได้ ซึ่งแต่ละปีต้องเสียค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาจากภาวะธาตุเหล็กเกินเป็นมูลค่าสูง การรักษาด้วยการให้ยาขับธาตุเหล็กโดยยาจะไปรวมตัวกับธาตุเหล็ก ซึ่งช่วยในการขับออกโดยช่วยนำ non–transferringที่เกาะกับธาตุเหล็กออกจากในเลือด เอาเหล็กส่วนเกินออกจากเซล และเพื่อให้ระดับธาตุเหล็กในร่างกายคงอยู่หรือกลับเข้าสู่ในระดับที่ปลอดภัย
บทความนี้มีเนื้อหาประกอบไปด้วย
The Clinical Problem
Pathophysiology and Effect of Therapy
Clinical Evidence
Clinical Use
Adverse Effects
Areas of Uncertainty
Guidelines
Recommendations
Source Information
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น