แนะนำแนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคไตเรื้อรังก่อนการบำบัดทดแทนไตพ.ศ. 2552
หลายครั้งที่เรามีคำถามเกี่ยวกับการตรวจรักษาและดูแลรักษาผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ลองเข้ามาศึกษาแนวทางนี้ซิครับ น่าจะช่วยให้คำตอบได้ดี ตลอดจนทำให้เข้าใจในรายละเอียดการดูแลรักษาผู้ป่วยมากยิ่งขึ้น ซึ่งมีเนื้อหาประกอบไปด้วย
-การเลือกผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเป็นโรคไตเรื้อรังเข้ารับการคัดกรองโรคไตเรื้อรัง
-การคัดกรองโรคไตเรื้อรัง
-การติดตามระดับการทำงานของไตในโรคไตเรื้อรัง
-การส่งปรึกษาหรือส่งต่อผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
-การควบคุมความดันโลหิตในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
-การลดปริมาณโปรตีนในปัสสาวะในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
-การควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
-การควบคุมระดับไขมันในเลือดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
-การงดสูบบุหรี่ในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
-โภชนบำบัดสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
-การดูแลรักษาความผิดปกติของแคลเซียมและฟอสเฟตในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
-การดูแลรักษาภาวะโลหิตจางในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
-การดูแลรักษาภาวะเลือดเป็นกรดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
-การหลีกเลี่ยงยาหรือสารพิษที่ทำลายไต
-การฉีดวัคซีนในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
-การลดความเสี่ยงและคัดกรองโรคหัวใจและหลอดเลือด
-การเตรียมตัวเพื่อการบำบัดทดแทนไต
เพื่อการเรียนรู้ medicine และสุขภาพที่ดีของประชาชน (community hospital) * เดิมคือ Phimaimedicine.blogspot.com * ตอนนี้มาปฏิบัติงานอยู่ที่ รพ. ขนอม นครศรีธรรมราชครับ
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
การบำบัดผู้ป่วยโรคไตที่ได้ผลดีที่สุด และไม่มีผลเสียต่อผู้ป่วยเลย คือการบำบัดด้วย น้ำแร่ ที่มีขนาดโมเลกุลเล็ก 6-8โมเลกุลต่อหน่วย
ตอบลบจากหนังสือ Water for Life โดย ศ.ดร.นพ.สมศักดิ์ วรคามิน
ฟื้นฟูสภาพของไตด้วยการ ให้ผู้ป่วยได้รับสารอาหารจาก เม็ดมะรุม หญ้าหนวดแมว และ ต้นอ่อนข้าวสาลี
จะช่วยขับของเสียและฟื้นฟูให้ไตค่อยๆกลับมาทำงานได้เอง
และค่อยๆลด ปริมาณการใช้ยา เพราะสารตกค้างจากการใช้ยาเป็นสาเหตุทำให้เกิดผลเสียต่อไต และตับ