ผู้ป่วยที่เป็นเบาหวานถีอได้ว่ามีความเสี่ยงเทียบเท่ากับการที่เป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ ต้องให้การป้องกันแบบทุติยภูมิ โดยมีเป้าหมายคือ LDL-C น้อยกว่า 100 มก./ดล. ระดับ TG น้อยกว่า 150 มก./ดล. ระดับ HDL-C มากกว่าหรือเท่ากับ 40 มก./ดล. และควรมีอัตราส่วน LDL-C/HDL-C น้อยกว่า 2.5 หรือ TC/HDL-C น้อยกว่า 3.5
การเลือกยาตามลักษณะความผิดปกติของไขมันทำดังนี้
โคเลสเตอรอลสูงอย่างเดียว
First choice
-HMGCoAR inhibitorFirst choice
Second choice
-Bile acid sequestrant
-Fibric acid derivative
-Nicotinic acid หรือ analogue
-Probucol
โคเลสเตอรอลและไตรกลีเซอไรด์สูง
โคเลสเตอรอลสูงกว่า
-HMGCoAR inhibitor
ไตรกลีเซอไรด์สูงกว่า
ไตรกลีเซอไรด์สูงกว่า
-Fibric acid derivative
-Nicotinic acid หรือ analogue
ไตรกลีเซอไรด์สูงอย่างเดียว
-Fibric acid derivative -Nicotinic acid หรือ analogue
หมายเหตุ: แต่ในกรณีที่ไตรกลีเซอไรด์สูงกว่า 200 มก./ดล. ให้ใช้ระดับ non HDL-C เป็นเป้าหมายรองจาก LDL-C โดยเป้าหมายของ non HDL-C จะมีค่ามากกว่า LDL-C 30 มก./ดล. ในทุกกรณี ซึ่งระดับ non-HDL-C คือค่า total cholesterol ลบด้วย HDL-C
Ref: - หนังสือ Clinical practice guideline ทางอายุรกรรม ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
-http://www.rcpt.org/guidelines/15-hyperlipidemia.pdf
-http://www.anamai.moph.go.th/occmed/hburee/lipidguideline.html
หมายเหตุ: แต่ในกรณีที่ไตรกลีเซอไรด์สูงกว่า 200 มก./ดล. ให้ใช้ระดับ non HDL-C เป็นเป้าหมายรองจาก LDL-C โดยเป้าหมายของ non HDL-C จะมีค่ามากกว่า LDL-C 30 มก./ดล. ในทุกกรณี ซึ่งระดับ non-HDL-C คือค่า total cholesterol ลบด้วย HDL-C
Ref: - หนังสือ Clinical practice guideline ทางอายุรกรรม ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
-http://www.rcpt.org/guidelines/15-hyperlipidemia.pdf
-http://www.anamai.moph.go.th/occmed/hburee/lipidguideline.html
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น