Clinical practice
Emergency treatment of asthma
N Engl J Med August, 19 2010
หอบหืดเป็นโรคหนึ่งที่พบได้บ่อยมากในประเทศที่พัฒนาแล้ว ซึ่งทั่วโลกมีอัตราการเกิดโรคนี้ 7-10% โดยเฉลี่ยแต่ละปีผู้ป่วยจะมาตรวจด้วยอาการกำเริบเฉียบพลันที่ห้องฉุกเฉินร้อยละ 8.8 ของผู้ป่วยที่เป็นหอบหืด โดยเป็นโรคที่มีลักษณะหลากหลายในตัว ไม่ว่าจะการเป็นมีสิ่งกระตุ้นหลายอย่าง ลักษณะอาการที่แสดงออก รวมทั้งการตอบสนองต่อการรักษา ผู้ป่วยบางคนมีอาการกำเริบเฉียบพลันรุนแรงมาที่ห้องฉุกเฉินพบว่าตอบสนองดีต่อการรักษาสามารถให้กลับบ้านได้เร็ว บางกรณีก็ต้องอยู่โรงพยาบาลเพื่อการรักษาเป็นเวลานาน เหตุผลที่มีการตอบสนองต่อการรักษาที่แตกต่างกันได้แก่ระดับความรุนแรงของการของอักเสบหลอดลม การมีเสมหะอุดตันหรือไม่ การตอบสนองต่อยา β2-adrenergic และสเตอรอยด์ในแต่ละบุคคล สิ่งที่ท้าทายเป็นอย่างมากที่ห้องฉุกเฉินก็คือการแยกแยะได้ว่าผู้ป่วยจะสามารถกลับบ้านได้ในเวลาที่รวดเร็วหรือจำเป็นจะต้องรับไว้รักษาในโรงพยาบาล
บทความนี้มีเนื้อหาประกอบด้วย
The Clinical Problem
Strategies and Evidence
-Initial Assessment in the Emergency Department
-Treatment in the Emergency Department
-β2-Adrenergic Agonists
-Anticholinergic Agents
-Systemic Corticosteroids
-Inhaled Corticosteroids
-Treatments That Are Not Recommended
-Assessment of Response to Treatment
-Indications for Admission
-Management of Respiratory Insufficiency
-Discharge from the Emergency Department
-Education of Patients
Areas of Uncertainty
Guidelines
Conclusions and Recommendations
Source Information
Click ที่ภาพเพื่อขยายขนาด
http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMcp1003469
เพื่อการเรียนรู้ medicine และสุขภาพที่ดีของประชาชน (community hospital) * เดิมคือ Phimaimedicine.blogspot.com * ตอนนี้มาปฏิบัติงานอยู่ที่ รพ. ขนอม นครศรีธรรมราชครับ
วันพฤหัสบดีที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2553
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น