Clinical practice NEJM April 15, 2010
พยาธิสรีระวิทยาหลักของ COPD คือการมีการอุดกั้นของอากาศที่หายใจออก เนื่องมาจากการโป่งพองมีลมคั่งค้างของถุงลม โดยมีลักษณะการเปลี่ยนแปลงของผนังถุงลม ร่วมกับการอักเสบของเนื้อเยื่อปอด การเกิดผังผืด การมีสารคัดหลั่งออกมาสะสมในทางเดินหายใจส่วนปลาย ผู้ป่วย COPD เมื่อมีอาการกำเริบทำให้ต้องมาตรวจรักษาและต้องนอน รพ. ส่วนภาวะขาดออกซิเจนเริ้อรังและมีภาวะคาร์บอนไดออกไซด์คั่งในเลือด เป็นสาเหตุให้เกิด pulmonary hypertension และ cor pulmonale ผู้ป่วยที่มีอาการ COPD รุนแรง จะมีโอกาสเกิดความเสี่ยงของ systemic diseases รวมทั้ง cardiovascular disease, osteoporosis, lung cancer และ depression
Alveolar attachments ทำให้เกิดแรงดึงทางเดินหายใจที่ด้านนอกโดยถุงลม ซึ่งมีความจำเป็นในการที่ทำให้ small airways คงอยู่ในเนื้อปอดปกติ การที่ทางเดินอากาศเล็กแคบลงรวมทั้งปริมาตรของปอดลดลงเป็นผลเนื่องมาจากลดความยืดหยุ่นของปอดและแรงดึงทางเดินหายใจที่ด้านนอกโดยถุงลมก็ลดลง ผลที่ตามมาคือ maximal expiratory airflow ลดลงและหยุดค้างอยู่ที่ 25 - 35% ของความจุปอดทั้งหมดซึ่งเรียกลมที่เหลือค้างนี้ว่า residual volume
บทความนี้กล่าวเกี่ยวกับ
The Clinical Problem
Strategies and Evidence
-History and Physical Examination
-Spirometry and Other Testing
-Smoking Cessation
-Bronchodilators
-Inhaled Corticosteroids
-Oxygen
-Management of Exacerbations
-Immunizations
-Pulmonary Rehabilitation
-Surgical Options
Areas of Uncertainty
Guidelines
Pathophysiological Features of Airflow Obstruction in COPD
บทความนี้กล่าวเกี่ยวกับ
The Clinical Problem
Strategies and Evidence
-History and Physical Examination
-Spirometry and Other Testing
-Smoking Cessation
-Bronchodilators
-Inhaled Corticosteroids
-Oxygen
-Management of Exacerbations
-Immunizations
-Pulmonary Rehabilitation
-Surgical Options
Areas of Uncertainty
Guidelines
Conclusions and Recommendations
Source InformationPathophysiological Features of Airflow Obstruction in COPD
Stage and Severity of COPD According to Postbronchodilator Spirometry
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น