เนื่องจาก natural history ของ AAA คือการขยายขนาดจนแตก เมื่อเกิดการแตกของ AAA จะมี mortality ประมาณ 80%-90% ดังนั้นการป้องกันไม่ให้ AAA ขยายขนาดและการรักษาในเวลาที่เหมาะสมก่อนจะเกิดการแตกของ AAA จึงเป็นเป้าหมายหลักของการรักษา นอกจากนั้นภาวะความดันโลหิตสูงจะเสริมให้มีโอกาสแตกมากขึ้น ดังนั้น แนวทางการรักษา จึงนับเริ่มตั้งแต่การควบคุมความดันโลหิต การงดสูบบุหรี่ การหลีกเลี่ยงการเบ่งถ่าย รวมจนถึงการผ่าตัดรักษา
Indication for operative management of infrarenal AAAผู้ป่วยที่มี AAA ขนาดตั้งแต่ 5.5 ซม.ขึ้นไปโอกาส rupture จะสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว จึงต้องรับการรักษาโดยการผ่าตัดวิธีใดวิธีหนึ่ง ส่วนผู้ป่วยที่มีอาการซึ่งเกิดจาก AAA เช่น ureteric obstruction หรือ distal embolisation ต้องผ่าตัดโดยไม่คำนึงถึงขนาด
โดยสรุปแล้ว indication ในการผ่าตัด AAA ได้แก่1. ผู้ป่วยทุกรายที่มีอาการอันเนื่องมาจาก AAA
2. ผู้ป่วยที่ไม่มีอาการ แต่มี AAA ที่มีขนาดตั้งแต่ 5.5 ซม. หรือขนาดเพิ่มขึ้นมากกว่า 1 ซม.ต่อปี (rapid expansion)
3. ผู้ป่วยที่มี AAA ขนาดเล็กกว่า 5.5 ซม.แต่มีปัจจัยเสี่ยงในการแตกของ AAA ในเพศหญิงหรือในผู้ป่วยที่มีอายุน้อย
การผ่าตัดในปัจจุบันมีหลายวิธีได้แก่
1. Conventional open surgery
2. Endovascular aneurysm repair (EVAR)
3. Minimal incision aortic surgery (MIAS)
4. Laparoscopic repair of AAAConventional open
โดยสรุปแล้ว indication ในการผ่าตัด AAA ได้แก่1. ผู้ป่วยทุกรายที่มีอาการอันเนื่องมาจาก AAA
2. ผู้ป่วยที่ไม่มีอาการ แต่มี AAA ที่มีขนาดตั้งแต่ 5.5 ซม. หรือขนาดเพิ่มขึ้นมากกว่า 1 ซม.ต่อปี (rapid expansion)
3. ผู้ป่วยที่มี AAA ขนาดเล็กกว่า 5.5 ซม.แต่มีปัจจัยเสี่ยงในการแตกของ AAA ในเพศหญิงหรือในผู้ป่วยที่มีอายุน้อย
การผ่าตัดในปัจจุบันมีหลายวิธีได้แก่
1. Conventional open surgery
2. Endovascular aneurysm repair (EVAR)
3. Minimal incision aortic surgery (MIAS)
4. Laparoscopic repair of AAAConventional open
ซึ่งในกรณีผู้ป่วยมี diameter ของ AAA น้อยกว่า 4 ซม. จึงมีความเสี่ยงของการแตกเท่ากับ 0 %/ปี แต่ผู้ป่วยมี underlying HT จึงต้องมาพิจารณาต่อว่าสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้หรือไม่เนื่องจากเป็นปัจจัยเสี่ยงของการแตกด้วย
http://medinfo2.psu.ac.th/surgery/Collective%20review/Current%20management%20of%20abdominal%20aortic%20aneurysm.pdf
http://medinfo2.psu.ac.th/surgery/Collective%20review/Current%20management%20of%20abdominal%20aortic%20aneurysm.pdf
AAA
ตอบลบปกติขนาด 2cm
อาจโตขึ้นได้0.4cm/ปี,โดยขนาดสัมพันกับโอกาส rupture
Indication Sx
1.มีอาการจากAAA
2.ไม่มีอาการแต่AAA>5.5cm,โตเร็ว>1cm/ปี
3.<5.5cm แต่มีโอกาสแตกมาก(เช่นในผู้หญิง คนอายุน้อย)
บ้านเราเน้า ป้องกัน มากกว่า ดังนั้นต้อง ควบคุมความดันให้ดีๆ และระวังเรื่อง การกระแทก
ตอบลบAAAต้องคุมความดันที่เท่าไหร่ หมายบอกให้ผู้ป่วยผ่าตัด . แต่ผู้ป่วยไม่ยอมผ่า แล้วมีโรคคความดันโหิตสูงด้วยค่ะ
ตอบลบ