ลูกศรแดงสีเขียวคือ................................................
ลูกศรสีน้ำเงินคือ..........................................................
ลูกศรสีเหลือง.........................................................
ลูกศรสีม่วงคือ........................................................
ลูกศรสีชมพูคือ......................................................
ลูกศรสีแดงคือ.......................................................
ลูกศรสีดำคือ.........................................................
หลักการทำงานของ respirator นี้คือ................................
ข้อบ่งใช้................................................................................
ช่วยสรุปวิธีการตั้งเครื่อง....................................................
สีเขียว Exspiratory time control
สีน้ำเงิน Inspiratory control
สีเหลืองคือ Inspiratory pressure
สีม่วงคือ Sensitivity control
สีชมพูคือ Air Mix selector
สีเหลืองคือ Inspiratory pressure
สีม่วงคือ Sensitivity control
สีชมพูคือ Air Mix selector
สีแดงคือ Pressure Gauge
สีดำคือ บริเวณท่อสำหรับต่อ ออกซิเจน ใกล้กันตรงขาวมือเป็นสวิทซ์ปิดเปิด
สีดำคือ บริเวณท่อสำหรับต่อ ออกซิเจน ใกล้กันตรงขาวมือเป็นสวิทซ์ปิดเปิด
-เป็น Pressure cycled ventilator การทำงานแต่ละครั้งช่วงหายใจเข้าสิ้นสุดเมื่อถึงความดันที่ตั้งไว้ Tidal volume ที่ผู้ป่วยได้รับขึ้นกับแรงต้านทานของทางเดินหายใจและปอด
-ข้อบ่งใช้ สำหรับผู้ป่วยที่ไม่สามารถหายใจด้วยตนเองได้เพียงพอ หรือมีการแลกเปลี่ยน แก๊ส ผิดปกติมาก
การตั้งเครื่อง 1. เมื่อต้องการใช้เครื่องช่วยหายใจชนิด assist/control ให้ ทำตามขั้นตอนดังนี้
1.1 ตั้งปุ่ม starting effort ทางด้านซ้ายมือของเครื่องให้อยู่ที่ขีด 20
1.2 ตั้งปุ่ม pressure limit ทางด้านขวามือของเครื่องให้อยู่ที่ขีด 20
1.3 ใช้ฝาปิดช่องสำหรับดูดอากาศภายนอกเข้าไปผสม (air mix control) ที่อยู่ใต้ปุ่ม starting effort เพื่อให้แก๊สที่เข้าสู่ ผู้ป่วยเป็นออกซิเจน 100 % สำหรับในรายที่ไม่ภาวะพร่องออกซิเจนรุนแรง ให้เปิดช่องนี้ไว้เพื่อให้แ ก๊ส เป็นออกซิเจน ผสมกับอากาศภายนอก
1.4 หมุนปุ่ม inspiratory flow rate ที่อยู่ส่วนบนทางด้านหน้าของเครื่องให้อยู่ในตำแหน่งประมาณ 12 นาฬิกา
1.5 เปิดปุ่มการทำงานของเครื่องที่อยู่ทางด้านบน
1.6 ปรับ ปุ่ม controlled expiratory time ที่อยู่ส่วนล่างทางด้านหน้าของเครื่อง โดยใช้การ ฟังเสียงหายใจเข้าออกให้ เหมาะสม ( สัดส่วนเวลาหายใจออกยาวประมาณ 2 เท่าของหายใจเข้า ) และให้ได้อัตราการหายใจ 12-16 ครั้งต่อนาที
1.7 ต่อปลายสายเครื่องช่วยหายใจเข้ากับท่อหลอดลมของผู้ป่วย
1.8 ใช้ spirometer วัด tidal volume ที่ exhalation valve ซึ่งอยู่ บริเวณปลายสายเครื่องช่วยหายใจก่อนถึงท่อหลอดลมของผู้ป่วย โดย tidal volume ที่ต้องการประมาณ 10 มล . ต่อน้ำหนักตัวของผู้ป่วย 1 กก . ถ้าต้องการเพิ่ม tidal volume ให้ปรับปุ่ม pressure limit ให้มากขึ้น แต่ต้องระวังไม่ให้เข็มที่หน้าปัทม์ของเครื่องขึ้นไปสูงเกินขีด 35 ซม . น้ำ ในทางตรงข้ามถ้าต้องการลด tidal volume ให้ปรับปุ่มไปในทางน้อยลง โดย อาจต้องปรับปุ่ม inspiratory flow rate ร่วมด้วย เพื่อให้ได้สัดส่วนเวลาการหายใจที่เหมาะสม
2. หลังจากใช้เครื่องช่วยหายใจ ต่อเนื่อง ไปอย่างน้อย 15 นาที ให้ทำการตรวจแก๊สในเลือดแดงเพื่อ ประเมินผล สำหรับ ใช้ใน การปรับ เครื่องช่วยหายใจ กล่าวคือ
2.1 ถ้าต้องการเพิ่มหรือลด tidal volume ให้ปรับปุ่ม pressure limit
2.2 ถ้าต้องการเพิ่มหรือลดอัตราการหายใจ ให้ปรับปุ่ม controlled expiratory time หลังปรับแล้ว 15 นาที ให้ทำการตรวจแก๊สในเลือด แดง ซ้ำอีกครั้งเพื่อตรวจสอบว่าได้ผลตามที่ต้องการหรือไม่
http://74.125.153.132/search?q=cache:IUisOG0cm-8J:www.si.mahidol.ac.th/department/Medicine/home/chest/b06.htm+bird+respirator&cd=3&hl=th&ct=clnk&gl=th&lr=lang_th
1.1 ตั้งปุ่ม starting effort ทางด้านซ้ายมือของเครื่องให้อยู่ที่ขีด 20
1.2 ตั้งปุ่ม pressure limit ทางด้านขวามือของเครื่องให้อยู่ที่ขีด 20
1.3 ใช้ฝาปิดช่องสำหรับดูดอากาศภายนอกเข้าไปผสม (air mix control) ที่อยู่ใต้ปุ่ม starting effort เพื่อให้แก๊สที่เข้าสู่ ผู้ป่วยเป็นออกซิเจน 100 % สำหรับในรายที่ไม่ภาวะพร่องออกซิเจนรุนแรง ให้เปิดช่องนี้ไว้เพื่อให้แ ก๊ส เป็นออกซิเจน ผสมกับอากาศภายนอก
1.4 หมุนปุ่ม inspiratory flow rate ที่อยู่ส่วนบนทางด้านหน้าของเครื่องให้อยู่ในตำแหน่งประมาณ 12 นาฬิกา
1.5 เปิดปุ่มการทำงานของเครื่องที่อยู่ทางด้านบน
1.6 ปรับ ปุ่ม controlled expiratory time ที่อยู่ส่วนล่างทางด้านหน้าของเครื่อง โดยใช้การ ฟังเสียงหายใจเข้าออกให้ เหมาะสม ( สัดส่วนเวลาหายใจออกยาวประมาณ 2 เท่าของหายใจเข้า ) และให้ได้อัตราการหายใจ 12-16 ครั้งต่อนาที
1.7 ต่อปลายสายเครื่องช่วยหายใจเข้ากับท่อหลอดลมของผู้ป่วย
1.8 ใช้ spirometer วัด tidal volume ที่ exhalation valve ซึ่งอยู่ บริเวณปลายสายเครื่องช่วยหายใจก่อนถึงท่อหลอดลมของผู้ป่วย โดย tidal volume ที่ต้องการประมาณ 10 มล . ต่อน้ำหนักตัวของผู้ป่วย 1 กก . ถ้าต้องการเพิ่ม tidal volume ให้ปรับปุ่ม pressure limit ให้มากขึ้น แต่ต้องระวังไม่ให้เข็มที่หน้าปัทม์ของเครื่องขึ้นไปสูงเกินขีด 35 ซม . น้ำ ในทางตรงข้ามถ้าต้องการลด tidal volume ให้ปรับปุ่มไปในทางน้อยลง โดย อาจต้องปรับปุ่ม inspiratory flow rate ร่วมด้วย เพื่อให้ได้สัดส่วนเวลาการหายใจที่เหมาะสม
2. หลังจากใช้เครื่องช่วยหายใจ ต่อเนื่อง ไปอย่างน้อย 15 นาที ให้ทำการตรวจแก๊สในเลือดแดงเพื่อ ประเมินผล สำหรับ ใช้ใน การปรับ เครื่องช่วยหายใจ กล่าวคือ
2.1 ถ้าต้องการเพิ่มหรือลด tidal volume ให้ปรับปุ่ม pressure limit
2.2 ถ้าต้องการเพิ่มหรือลดอัตราการหายใจ ให้ปรับปุ่ม controlled expiratory time หลังปรับแล้ว 15 นาที ให้ทำการตรวจแก๊สในเลือด แดง ซ้ำอีกครั้งเพื่อตรวจสอบว่าได้ผลตามที่ต้องการหรือไม่
http://74.125.153.132/search?q=cache:IUisOG0cm-8J:www.si.mahidol.ac.th/department/Medicine/home/chest/b06.htm+bird+respirator&cd=3&hl=th&ct=clnk&gl=th&lr=lang_th
1. expi time : เพื่อตั้ง อัตตรา RR
ตอบลบ2. inspi time : ฏำหนดความเร็วลมที่ตีเข้า
3. เรียกอารายไม่รู้ แต่เอาไว้ตั้ง tidal volume
4. ตั้ง sense
5.ไม่รู้จำไม่ได้
6. เอาไว้ต่อถุง เพิ่ม FiO2
7.อาไรก็ไม่รู้ง่ะ
ขอบคุณสำหรับข้อมูลนะคะ ขอสอบถามเพิ่มเติมเรื่องอาการของคนไข้ค่ะ ช่วยยกตัวอย่างโรคที่คนไข้ไม่สามารถหายใจได้ด้วยตัวเองจนต้องใช้ Bird หน่อยค่ะ ขอบคุณอีกครั้งค่ะ
ตอบลบปล.พอดีต้องpresentเรื่องนี้น่ะค่ะ