NEJM, 5,Novenber,2009
Ankle–brachial index ใช้ในการประเมินผู้ป่วยที่สงสัย peripheral arterial disease โดยมี sensitivity มากกว่า 90% และ specificity 95% ในการวินิจฉัย
ข้อบ่งชี้ได้แก่ ประเมินอาการปวดขา, ประเมินภาวะขาดเลือดของขา(อาการของ claudication, ปวดขณะพัก, และการมีแผลหรือเนื้อตายที่เท้า) ค้นหาภาวะ atherosclerosis, ประเมินเส้นเลือดในผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บที่ขา และยังเป็นการทำนายการดำเนินโรคของ diffuse vascular disease รวมทั้งประเมินความสำเร็จในการดูแลรักษาทางด้านศัลยกรรม เช่น angioplasty, stenting , หรือ bypass ที่ขาช่วงล่าง
ข้อห้ามได้แก่ ผู้ที่มีอาการปวดรุนแรงจาก deep venous thrombosis ซึ่งจะทำให้ thrombus หลุดลอยออกไป ซึ่งอาจใช้ duplex ultrasound ตรวจดูก่อน ภาวะบางอย่างอาจมีผลต่อการวัดเช่น การมีหินปูนหรือความไม่ยืดหยุ่นของเส้นเลือดโดยเฉพาะในผู้ป่วยสูงอายุ เบาหวาน โรคไตวายเรื้อรังที่ทำการฟอกไต แต่ก็ไม่ใช่ absolute contraindications
ข้อห้ามได้แก่ ผู้ที่มีอาการปวดรุนแรงจาก deep venous thrombosis ซึ่งจะทำให้ thrombus หลุดลอยออกไป ซึ่งอาจใช้ duplex ultrasound ตรวจดูก่อน ภาวะบางอย่างอาจมีผลต่อการวัดเช่น การมีหินปูนหรือความไม่ยืดหยุ่นของเส้นเลือดโดยเฉพาะในผู้ป่วยสูงอายุ เบาหวาน โรคไตวายเรื้อรังที่ทำการฟอกไต แต่ก็ไม่ใช่ absolute contraindications
การแปลผล ค่าปกติปกติขณะพัก 0.91 - 1.30 ถ้ามากกว่า1.30 บ่งชี้ว่ามีการเสียความยืดหยุ่นของ tibial arteries และถ้าลดลงบ่งบอกว่ามี peripheral arterial disease โดยถ้ารุนแรงเล็กน้อยจะเท่ากับ 0.41 ถึง 0.90 แต่ถ้าต่ำกว่า 0.40 บ่งบอกว่ามีความรุนแรงมาก การตรวจอื่น ๆ ที่อาจทำเพิ่มได้แก่ CT, catheter angiography, MRI หรีอ du-plex ultrasound
ข้อจำกัด อาจจะเนื่องมาจากการมีหินปูนหรือความไม่ยืดหยุ่นของเส้นเลือด ทำให้ค่าที่ได้สูงกว่าความเป็นจริง การที่มี subclavian-artery stenosis จะทำให้ค่าที่จากฝั่งดังกล่าวสูงขึ้น ซึ่งสามารถรู้ได้โดยการมีความดันโลหิตที่แขนสองข้างต่างกันมากกว่า10 mm Hg.
ขั้นตอนและวิธีการตรวจดังภาพ
ติดตามต่อ http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMvcm0807012
ข้อจำกัด อาจจะเนื่องมาจากการมีหินปูนหรือความไม่ยืดหยุ่นของเส้นเลือด ทำให้ค่าที่ได้สูงกว่าความเป็นจริง การที่มี subclavian-artery stenosis จะทำให้ค่าที่จากฝั่งดังกล่าวสูงขึ้น ซึ่งสามารถรู้ได้โดยการมีความดันโลหิตที่แขนสองข้างต่างกันมากกว่า10 mm Hg.
ขั้นตอนและวิธีการตรวจดังภาพ
ติดตามต่อ http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMvcm0807012
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น